ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กลยุทธ์
1. การพัฒนาอาชีพบนฐานความรู้

1. ประชาชนส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพด มีมีการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า มีรายได้ต่ำ และใช้สารเคมีมาก

1. ส่งเสริมปลูกพืชรายได้

   1.1 ระยะสั้น (พืชผักในโรงเรือน) 30 ราย 10ไร่ 50 โรงเรือน

   1.2 ระยะสั้น (พืชผักนอกโรงเรือน) 120 ราย 150 ไร่

   1.3 ระยะกลาง(องุ่น งาม้อน) 80 ราย 100 ไร่

   1.4 ระยะยาว(มะม่วง อโวคาโด ส้มโอ) 180 ราย 250 ไร่

2. การส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเหลื่อม-สลับด้วยพืชตระกูลถั่ว 260 ราย 450 ไร่

3. เพิ่มผลผลิตพืชไร่ (ข้าวนา ,ข้าวไร่)  เน้นให้มีการปรับปรุงบำรุงดิน 400 ราย 900 ไร่

4. รายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 5

5. ส่งเสริมการผลิตภายใต้มาตรฐาน GAP ทุกราย ทุกชนิดพืช

6. การเลี้ยงหมูหลุม 85 ราย 100 ฟาร์ม

7. ส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมี 50 ราย 50 ไร่

8. ส่งเสริมการปลูกพืชทางเลือกสร้างรายได้

   8.1 ระยะสั้น(พืชผัก) 95 ราย 75 ไร่ 

   8.2 ระยะกลาง(องุ่น งาม้อน) 80 ราย 100 ไร่

   8.3 ระยะยาว(มะม่วง อโวคาโด ส้มโอ) 50 ราย 60 ไร่

9. ส่งเสริมการแปรูปชาสมุนไพร โดยเน้นการปลูกและใช้สมุนไพรที่หายากในท้องถิ่น 1 กลุ่ม25 ราย

1. ลดพื้นที่การปลูกข้าวโพดและปลูกพืชทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

2. สนับสนุนต่อยอดการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น

2. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคมและชุมชน

1. ชุมชนมีหนี้สินมากและขาดการรวมกลุ่มที่เข้มแข็ง

1. สร้างการความเข้มแข็งของคนในชุมชนโดยการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติในชุมชน 6 แห่ง 6 ชุมชน

2. ดำเนินการพัฒนาชุมชนโดยใช้แผนชุมชนเป็นกลไกลสำคัญในการพัฒนา 6 แผน 6 ชุมชน

3. พัฒนากลุ่มเตรียมสหกรณ์เพื่อพัฒนาเป็นกลุ่มสหกรณ์ 1 กลุ่ม สมาชิก 60 คน

4. สนับสนุนการทำปุ๋ยหมักจากเศษพืช 100 ตัน 6,000 ลิตร 6 ชุมชน

5. สร้างแหล่งศึกษาเรียนรู้และพัฒนาเกษตรกรผู้นำให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน 50 แปลง 50คน

6. เพิ่มช่องทางการตลาด

1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสถาบันเกษตร

3. การฟื้นฟูและอนุรักษ์สิ่ แวดล้อม

1. มีการใช้สารเคมีมากจากข้าวโพด พื้นที่เสื่อมโทรมจากการใช้พื้นที่ไม่ถูก

1. ส่งเสริมการนำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินวางแผนการปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 6 แผน 6 ชุมชน

2. ส่งเสริมการทำแนวกันไฟ 12 พื้นที่ 240กิโลเมตร

3. สร้างระบบกระจายน้ำ แหล่งน้ำขนาดเล็ก และฝายชะลอน้ำ 6 หมู่บ้าน 40 จุด

4. ส่งเสริมการปลูกป่าชาวบ้าน 110 ราย 1,100 ไร่

5. สนับสนุนการทำปุ๋ยหมักจากเศษพืช 100 ตัน 6,000 ลิตร 6 ชุมชน

6. ตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลผลิต 1,500 ตัวอย่าง และการคัดกรองโลหิต 300 คน

1. ส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มพื้นที่ป่าส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มพื้นที่ป่า
4. โครงสร้างพื้นฐาน

1. พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำและระบบส่งน้ำเพื่อทำการเกษตร

1. สนับสนุนและประสานงานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิตทางการเกษตร  4 หมู่บ้าน  4 สาย

2. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และ การเกษตร  4 หมู่บ้าน 4 แห่ง

3. สนับสนุนการสร้างจุดกระจายน้ำขนาดเล็กในแปลงปลูกพืช 5 หมู่บ้าน 5 แห่ง

 
5. การพัฒนาด้านการตลาด

1. ขาดช่องทางการตลาดรองรับการประกอบอาชีพที่ต่อเนื่อง

1. รายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 5

2. สร้างเครือข่ายขยายช่องทางการตลาด 1 เครือข่าย

3. สร้างแบนด์ในการจำหน่ายสินค้า

 
6. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ  

1. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และผลิตพันธุ์พืชแบบโครงการหลวง 4 แห่ง

2. สร้างเกษตรกรให้เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้และเป็นแหล่งดูงาน 50 คน 50 แปลง

 

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2560)  , สำนักพัฒนา



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2560