ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ด้าน สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กิจกรรม

1. การวิจัย

1.มีการใช้สารเคมีมาก

1.ส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมี

1.ใช้สารชีวภัณฑ์กับพืชที่ส่งเสริม

2. การพัฒนาอาชีพ

1. พื้นที่ในการทำการเกษตรมีอย่างจำกัด

2. การปลูกพืชเชิงเดี่ยว (ข้าวโพด, กะหล่ำปลี)

3. มีการใช้สารเคมีสูง

4. ต้นทุนการผลิตสูง

5. ชนิดพืชที่ปลูกมีน้อย

   5.1 ไม่มีความหลากหลายของชนิดพืชที่ปลู

   5.2 ไม่มีพืชทางเลือก

6. ราคาผลผลิตต่ำ

7. ไม่มีงบประมาณในการทำการเกษตร

 

2. ขาดความรู้ทางวิชาการที่เหมาะสมในการปลูกพืชในการทำการเกษตร

1.อาชีพทางเลือกที่ใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรน้อย ใช้น้ำน้อยและมีรายได้ต่อพื้นที่สูง

2. ส่งเสริมการปลูกพืชใหม่เพื่อสร้างรายได้

1.ส่งเสริมการปลูกผักในและนอกโรงเรือน (เน้นความหลากหลายของชนิดพืช)

2.ส่งเสริมการปลูกไม้ผล

3. รวบรวมและจำหน่ายผลผลิตในรูปแบบ กลุ่มสหกรณ์ฯ

3. รวบรวมและซื้อขายผลผลิตในรูปแบบสหกรณ์

4. ส่งเสริมการปลูกพืชโดยใช้เทคโนโลยีจากโครงการหลวงเพื่อสร้างรายได้

4.ส่งเสริมการปลูกพืชโดยเชื่อมโยงกับตลาดโครงการหลวง และตลาดข้อตกลง

3. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

1.ภาระค่าใช้จ่ายในครอบครัวมีมากกว่ารายได้ทำให้เกิดหนี้สิน

2.มีหนี้สินต่อครัวเรือนมาก (หนี้จากพ่อค้าคนกลาง)

3. การออมเงินมีน้อย

4. เข้าไม่ถึงแหล่งทุน (สถาบันการเงิน)

5. ยาเสพติด

1. สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ วางแผนและดำเนินการพัฒนา

1. ส่งเสริมการทำแผนชุมชน และขับเคลื่อนการนำไปใช้ประโยชน์

2. ส่งเสริมการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

2. ส่งเสริมการออม

3. สนับสนุนความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกร

3. จัดตั้งกลุ่มและกองทุน

4. การอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

1. มีการขยายพื้นที่ทำกิน

2. มีการใช้สารเคมีทางการเกษตรปริมาณมาก

3. น้ำมีการปนเปื้อนของสารเคมี

4. มีการเผาพื้นที่ทำกินและเผาป่า

5. การทิ้งขยะในชุมชน

1. ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

1. การปลูกป่าชาวบ้าน

2. การปลูกแฝก

3. การฟื้นฟูป่าชุมชน

4. การจัดทำฝาย

5. จัดทำแนวกันไฟ

6.การบวชป่าต้นน้ำ

7. การลดใช้สารเคมี

2. ปรับระบบการเกษตรและการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม

2. ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบกาการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน

5. การตลาดและโลจิสติกส์

1. มีกระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวที่ยังไม่เป็นไปตามระบบ

2. ช่องทางการตลาดรองรับมีน้อย

3. พึ่งพาพ่อค้าคนกลาง

4. ผลผลิตไม่ได้คุณภาพตรงตามความต้องการของตลาด

5. ไม่มีการจำหน่ายผลผลิตในรูปแบบของกลุ่ม

1. สนับสนุนระบบการคัดคุณภาพผลผลิต

2. ส่งเสริมอาชีพที่มีความหลากหลายและมีตลาดรองรับ

1. จัดอบรมในการคัดเกรดและการคัดคุณภาพของผลผลิต

2.ส่งเสริมการปลูกพืชให้มีความหลากหลายและมีตลาดรองรับ

3. การปลูกพืชในระบบ GAP

๒.พัฒนาปัจจัยพื้นฐานให้ได้มาตรฐานเพื่อรองรับการจัดการผลผลิตและการตลาด

1. ปรับปรุงและพัฒนาโรงคัดบรรจุให้ได้มาตรฐานตามระบบโครงการหลวงและเพียงพอต่อการใช้งาน

2. พัฒนาระบบการวิเคราะห์สารให้ได้มาตรฐานตามระบบโครงการหลวงและสามารถรองรับการวิเคราะห์สาร

6. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

1. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นถนนรุกรัง

2. พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำเพื่อการเกษตร

3. น้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภคมีไม่เพียงพอในช่วงฤดูแล้ง

1. พัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่ง

1. ประสานงานกับหน่วยงานร่วมบูรณาการเพื่อเข้าไปพัฒนาในพื้นที่

2. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร

2. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็กในการทำการเกษตร

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2559)  , สำนักพัฒนา  



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2559