ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ด้าน สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กิจกรรม

1. การวิจัย

1. ราคาผลผลิตต่ำ

2. มีการใช้สารเคมีจำนวนมากและไม่ถูกต้อง

3. ต้นทุนการผลิตสูง

4. ชนิดพืชไม่หลากหลาย

1.ลดต้นทุนการผลิต

2.ส่งเสริมการใช้ปัจจัยการผลิตชีวภาพ ลดการใช้สารเคมี

3.ส่งเสริมการรวมกลุ่มในชุมชน

1.การศึกษาการใช้ชีวภัณฑ์เกษตรในการควบคุมศัตรูพืช

2.การศึกษากระบวนการยอมรับตลาดผลผลิตของเกษตรกรในแต่ละช่องทางการตลาด

3. การทดสอบการปลูกพืชทางเลือกชนิดอื่น

2. การพัฒนาอาชีพ

1.ประชากรส่วนใหญ่มีฐานะยากจน

2. ผลผลิตข้าวต่ำและมีปริมาณไม่เพียงพอต่อการบริโภค

3. ขาดอาชีพหลักในบางหมู่บ้าน

4. มีการพึ่งพาปัจจัยภายนอกมากเกินไป

5. ผลผลิตการเกษตรไม่ได้คุณภาพ      

6. ราคาผลผลิตตกต่ำ ซึ่งเป็นปัญหาที่เชื่อมโยงมาจากผลผลิตไม่ได้คุณภาพ                      

7. มีต้นทุนในการผลิตสูง และมีตลาดรองรับน้อย

8. ขาดการรวมกลุ่มภายในชุมชนเพื่อการจำหน่ายสินค้าการเกษตร

 1. ส่งเสริมการประกอบอาชีพการเกษตรและนอกภาคเกษตร โดยถ่ายทอดจากองค์ความรู้โครงการหลวง

1. ส่งเสริมการปลูกผักในโรงเรือน

2. ส่งเสริมการปลูกพืชชนิดที่มีมูลค่าสูง

3. ส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเหลี่ยมด้วยพืชตระกูลถั่ว

4. ส่งเสริมการปลูกไม้ผลเพื่อเสริมการท่องเที่ยว

2. ปรับปรุงคุณภาพผลผลิตการเกษตรและหาช่องทางการตลาดรองรับ

5. ส่งเสริมการปลูกพืชผักส่งจำหน่ายตลาดชุมชน/ตลาดข้อตกลง และตลาดโครงการหลวง

3. ปรับปรุงคุณภาพผลผลิตการเกษตรและหาช่องทางการตลาดรองรับ

6. ส่งเสริมงานหัตถกรรม และผลิตภัณฑ์จากความหลากหลายทางชีวภาพ

3. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

1. การเพิ่มขึ้นของประชากรจำนวนมาก

2. มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่

3. มีการย้ายเข้ามาของแรงงานต่างด้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน

4. ขาดแคลนที่ดินทำกินในบางหมู่บ้าน

1. สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ วางแผนและดำเนินการพัฒนา

1. ส่งเสริมการทำแผนชุมชน และขับเคลื่อนการนำไปใช้ประโยชน์

2. ชุมชนติดตามและประสานการใช้ประโยชน์จากแผนชุมชนจากหน่วยงานต่างๆ

 

5. ชุมชนยังพึงพาตนเองได้น้อย การออมน้อย หนี้สินมาก เข้าไม่ถึงการบริการ แหล่งทุน

2. ส่งเสริมการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

3. ส่งเสริมการออม

4. การจัดทำบัญชีครัวเรือน

3. สนับสนุนความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกร

5. จัดตั้งกลุ่มและกองทุน

6. ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต่างๆ

4. การอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

1. ขาดน้ำเพื่อการเกษตร โดยเฉพาะในฤดูแล้งไม่มีน้ำ

2. มีการบุกรุกและแผ้วถางพื้นที่ป่าไม้

3. ดินเสื่อมโทรม เนื่องจากขาดการปรับปรุงบำรุงดิน

4. การใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรมาก

1. ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

2. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรเป็นหลัก  รวมทั้งน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค

1. การปลูกป่าชาวบ้าน

2. การปลูกแฝก

3. การฟื้นฟูป่าชุมชน

4. การจัดทำฝาย

5. การลดใช้สารเคมี

3. ปรับระบบเกษตรและการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม

6. ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน

4.การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ

7. การปรับปรุงบำรุงดิน

5. การตลาดและโลจิสติกส์

1. ไม่มีช่องทางการตลาดรองรับการประกอบอาชีพ

2. พึ่งพาพ่อค้าคนกลาง ราคาผลผลิตไม่แน่นอน

3. ช่องทางการขนส่งไปยังตลาดต่างๆ มีน้อยและจำกัด

1. ส่งเสริมอาชีพใหม่ที่มีตลาดรองรับ

1. ส่งเสริมอาชีพและจัดหาตลาดรองรับ

2. สนับสนุนกลุ่มในการจัดการด้านการตลาด

2. จัดตั้งกลุ่ม/กลุ่มวิสาหกิจ/สหกรณ์

3. หาช่องทางการขนส่งสินค้าเพิ่ม

4. ช่องทางการขนส่งที่มีคุณภาพ เพื่อลดความเสียหายของผลผลิต

3. พัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อรองรับการจัดการด้านตลาด

5. สร้างโรงคัดบรรจุ/โรงวิเคราะห์สาร

6. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

1. พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำทั้งอุปโภคและบริโภค

2. เส้นทางสัญจรเข้าบางหมู่บ้านยังคงเป็นทางลูกรังและเข้าถึงลำบากในช่วงฤดูฝน

  1. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อบริโภค และแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรขนาดเล็ก
  2. ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมระหว่างหมู่บ้านและเส้นทางลำเลียงผลผลิตในหมู่บ้าน

1. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อบริโภค และแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการเกษตร

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2559)  , สำนักพัฒนา  



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2559