การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์

    


การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงน้ำแขว่ง ปีงประมาณ 2560

กลุ่ม/ชนิด/ประเภท หัวข้อ/โครงการ องค์ความรู้จากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่
เห็ด เห็ด - การเพาะเห็ดเพื่อเป็นอาหาร/รายได้เสริม (กลุ่มเห็ดสกุลนางรม, กลุ่มเห็ดหูหนู, กลุ่มเห็ดไมคอร์ไรซา, กลุ่มเห็ดกระด้าง 
ปัจจัยการผลิต ชีวภัณฑ์เกษตร

- การผลิตชีวภัณฑ์อย่างง่ายที่เกษตรกรสามารถผลิตเองได้ด้วยหัวเชื้อสด ได้แก่ เชื้อรา Trichoderma harzanum, เชื้อรา Beauveria bassiana, เชื้อรา Metarhizum anisopliae และเชื้อรา Metarhizium anisopliae

- การผลิตชีวภัณฑ์สำหรับป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ได้แก่ พีพี-ไตรโค, พีพี-บีเค33. พีพี-บี10, พีพี-บี15, พีพี-เมทา, พีพี-ฟีโร, พีพี-เบ็บ  และน้ำหมักสมุนไพร 4 สูตร

การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวน้ำแขว่ง ปีงประมาณ 2559

กลุ่ม/ชนิด/ประเภท หัวข้อ/โครงการ องค์ความรู้จากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในพื้นที
ไม้ผล องุ่น - การใช้จิบเบอเรลลิคแอชิต (GA3) ในการปลิดผลองุ่นพันธุ์ Beauty Seedless
Food bank การฟื้นฟูฯ

- องค์ความรู้ในการฟื้นฟูแหล่งอาหารโดยชุมชน (กระบวนการฟื้นฟูแหล่งอาหารในชุมชน) ได้แก่ มะแขว่น

- องค์ความรู้ในการขยายพันธุ์และผลิตพืชท้องถิ่นเพื่อสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจให้กับชุมชน ได้แก่ มะแขว่น

ปัจจัยการผลิต ชีวภัณฑ์เกษตร - ชีวภัณฑ์เกษตรสำหรับป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ได้แก่ พีที-บี10, พีที-บี15, พีที-สแตร็บโต, พีที-เมทา, พีที-ฟีโร และพีที-เบ็บ
อื่นๆ Postharvest - กระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักบนพื้นที่สูง

 

 

ที่มา : สำนักวิจัย