โพสต์: 4 กันยายน 2555 อ่าน: 9,177 ครั้ง
หัตถกรรมผ้าฝ้ายทอมือชาวละว้า (ลัวะ)
ชาวเขาเผ่าละว้าหรือลัวะ เป็นชนเผ่าที่มีวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตที่น่าสนใจ และเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง โดยเฉพาะชุมชนชาวละว้าในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ลาน้อย อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เพราะเป็นชุมชนที่มีความโดนเด่นทั้งในด้านสภาพแวดล้อมที่สวยงาม วัฒนธรรมและวิถีชีวิต มีงานหัตถกรรมผ้าฝ้ายทอมือที่ภูมิปัญญาของชนเผ่า และชุมชนได้มีการรวมกลุ่มที่เข้มแข็งในการอนุรักษ์และพัฒนาจนเป็นอาชีพนอกภาคการเกษตรที่สำคัญและสร้างรายได้เสริมให้กับชุมชน
ผลิตโดย
- มูลนิธิโครงการหลวง
- สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
ขอขอบคุณ
- กลุ่มสตรีทอผ้า บ้านดง
- ชุมชนบ้านดง
- ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ลาน้อย
วิดีโอบน YouTube http://youtu.be/W1HAjXY5oYU
การทอผ้าชนเผ่าลาหู่เชเละหรือมูเซอดำ
การทอผ้าของลาหู่เชเละหรือมูเซอดำ มีลักษณะการทอแบบคาดหลัง คล้ายชาวเขาส่วนใหญ่ในประเทศไทย แต่แตกต่างกันในลักษณะการเก็บตะกอ...
พรรณไม้งามพระนามราชสกุลมหิดล ตอนที่ 5
พรรณไม้งามที่มีชื่อเกี่ยวข้องกับพระนามาภิไธย ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีหลายชนิด ในโอกาสนี้จะได้นำเสนออีก 3 ชนิด ได้แก่ โมกราชินี มหาพรหมราชินี และบัว ควีนสิริกิติ์
พรรณไม้งามพระนามราชสกุลมหิดล ตอนที่ 4
เป็นพรรณไม้ที่ถูกสำรวจ และเป็นพืชถิ่นเดียวที่พบในประเทศไทย และเป็นพรรณไม้ชนิดใหม่ของโลก ซึ่งได้ตั้งชื่อพรรณไม้ทั้ง 3 ชนิดอันได้แก่ สิรินธรวัลลี เครือเทพรัตน์ และเทียนสิรินธร
องุ่นเป็นไม้ผลชนิดเถาเลื้อยที่มีอายุยานานหลายปี สามารถปลูกได้ในสภาพภูมิอากาศหลายแบบ แต่องุ่นที่ปลูกในภาพที่มีอากาศหนาวเย็นจะมีคุณภาพสูงกว่า