ชื่อโครงการ |
โครงการป่าชาวบ้านในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักพัฒนา |
หลักการและเหตุผล |
โครงการป่าชาวบ้านในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักพัฒนา กำหนดจัดกิจกรรมนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ป่าในเขตพื้นที่โครงการหลวง จำนวน 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 25 ส.ค. 57 ณ ศูนย์ฯ ผาตั้ง (ปลูกป่าชาวบ้านเพื่อเป็นแปลงสาธิตภายในพื้นที่ศูนย์ จำนวน 1,200 ต้น พื้นที่ 3 ไร่) ครั้งที่ 2 ในวันที่ 25 ส.ค. 57 ณ ศูนย์ฯ วัดจันทร์ (พิธีบวชป่าบริเวณพื้นที่ชุมชนบ้านวัดจันทร์) ครั้งที่ 3 วันที่ 26 ส.ค. 57 ณ ศูนย์ฯ แม่สะเรียง (ปลูกต้นไม้เสริมในพื้นที่ป่าชุมชน-ป่าต้นน้ำ บ้านอมพาย จำนวน 2,000 ต้น พื้นที่ 40 ไร่) ครั้งที่ 4 วันที่ 26 ส.ค. 57 ณ ศูนย์ฯ ม่อนเงาะ (ปลูกป่าในพื้นที่สาธารณประโยชน์ บริเวณสำนักสงฆ์บ้านก๋ายน้อย จำนวน 2,000
|
|
เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการฟื้นฟูพื้นที่ป่าของชุมชน ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครการหลวง และเพื่อสร้างความสามัคคีในชุมชน และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรน้ำให้คงอยู่อย่างยั่งยืน
|
|
วันที่ 25 ส.ค. 57 ณ ศูนย์ฯ ผาตั้ง ,วันที่ 25 ส.ค. 57 ณ ศูนย์ฯ วัดจันทร์ ,วันที่ 26 ส.ค. 57 ณ ศูนย์ฯ แม่สะเรียง และวันที่ 26 ส.ค. 57 ณ ศูนย์ฯ ม่อนเงาะ
|
|
เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการฟื้นฟูพื้นที่ป่าของชุมชน ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครการหลวง และเพื่อสร้างความสามัคคีในชุมชน และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรน้ำให้คงอยู่อย่างยั่งยืน
|
|
วันที่ 25-26 สิงหาคม 2557
|
โครงการหลวงส่งเสริมการปลูกมะม่วงที่นำเข้ามาจากต่างประเทศที่ผ่านการวิจัยและให้ผลดี มีคุณภาพให้เกษตรกรปลูกเป็นการค้า 4 พันธุ์ คือ นวลคำ ปาล์มเมอร์ อาร์ทูอีทู เออร์วิน
กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการปลูกเป็นการค้าแพร่หลายทั่วโลกมานานแล้ว ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกกุหลาบกระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ตาก ฯลฯ
ราสพ์เบอรี่เป็นไม้ผลเขตหนาวขนาดเล็กที่มีอายุหลายปีโดยจะมีต้นใหม่งอกจากรากที่อยู่ใต้ดินขึ้นมาทดแทนต้นเดิมที่ให้ผลผลิตแล้วทุกปี