ชื่อโครงการ |
โครงการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพผลผลิตตามมาตรฐานอาหารปลอดภัย ร่วมกับมูลนิธิโครงการหลวง
|
หลักการและเหตุผล |
โครงการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพผลผลิตตามมาตรฐานอาหารปลอดภัย ร่วมกับมูลนิธิโครงการหลวง กำหนดจัดฝึกอบรม เรื่องระบบการเพาะปลูกที่ดี : พืชอาหารและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ดังนี้วันที่ 17 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังคา วันที่ 19 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยแล้ง และวันที่ 20 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงสะโงะ
|
|
เพื่อทบทวนหลักการของระบบการเพาะปลูกที่ดีแก่เกษตรกรที่เป็นสมาชิกเดิมและใหม่ เพื่อให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการรักษาและพัฒนามาตรฐานการปลูกพืชอาหารของตนเองได้
|
|
วันที่ 17 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังคา วันที่ 19 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยแล้ง และวันที่ 20 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงสะโงะ
|
|
เพื่อทบทวนหลักการของระบบการเพาะปลูกที่ดีแก่เกษตรกรที่เป็นสมาชิกเดิมและใหม่ เพื่อให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการรักษาและพัฒนามาตรฐานการปลูกพืชอาหารของตนเองได้
|
|
วันที่ 17 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังคา วันที่ 19 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยแล้ง และวันที่ 20 ก.พ. 2558 ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงสะโงะ
|
ผักกาดหอมบัตเตอร์เฮดใบมีลักษณะอ่อนนุ่มเป็นมัน เรียงซ้อนกันแน่นคล้ายดอกกุหลาบ และห่อหัวแบบ
พรรณไม้งามพระนามราชสกุลมหิดล ตอนที่ 7
พรรณไม้พระนามราชสกุลมหิดล ไม้ดอกโทนสีชมพู สีสันอันงดงามและอ่อนหวาน เช่น กุหลาบพระนามสิรินธร ดอกกุหลาบสีชมพูเหลือบเหลือง ที่มีกลิ่นหอม กล้วยไม้ฟาแลนนอพซิส พรินเซสจุฬาภรณ์ ดอกกล้วยไม้สีขาวชมพูระเรื่อกรุ่นกลิ่นหอมอ่อนๆ
พรรณไม้งามพระนามราชสกุลมหิดล ตอนที่ 1
กันภัยมหิดลเป็นไม้ประจำถิ่นของไทยเพียงแห่งเดียว ซึ่งพบครั้งแรกโดยอาจารย์เกษม จันทรประสงค์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรายุพิน จันทรประสงค์ (เจิมศิริวัฒน์) ที่น้ำตกไทรโยคน้อย จังหวัดกาญจนบุรี
การทอผ้าชนเผ่าลาหู่เชเละหรือมูเซอดำ
การทอผ้าของลาหู่เชเละหรือมูเซอดำ มีลักษณะการทอแบบคาดหลัง คล้ายชาวเขาส่วนใหญ่ในประเทศไทย แต่แตกต่างกันในลักษณะการเก็บตะกอ...