ชื่อโครงการ |
โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์หัตถกรรามของชนเผ่าบนพื้นที่สูง
|
หลักการและเหตุผล |
โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์หัตถกรรามของชนเผ่าบนพื้นที่สูงจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการและศึกษาดูงานเรื่อง การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ การพัฒนาทักษะ เทคนิคการย้อมสีธรรมชาติ ในวันที่ 31 กรกฎาคม -1 สิงหาคม 2559 ณ ศูนย์ฯ พระบาทห้วยต้ม
|
|
เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และการเรียนรู้เทคนิคการทอผ้าและการสร้รงสรรค์เส้นใยหรือผ้าย้อมสีธรรมชาติ
|
|
วันที่ 31 กรกฎาคม -1 สิงหาคม 2559 ณ ศูนย์ฯ พระบาทห้วยต้ม
|
|
เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และการเรียนรู้เทคนิคการทอผ้าและการสร้รงสรรค์เส้นใยหรือผ้าย้อมสีธรรมชาติ
|
|
วันที่ 31 กรกฎาคม -1 สิงหาคม 2559 |
พรรณไม้งามพระนามราชสกุลมหิดล ตอนที่ 7
พรรณไม้พระนามราชสกุลมหิดล ไม้ดอกโทนสีชมพู สีสันอันงดงามและอ่อนหวาน เช่น กุหลาบพระนามสิรินธร ดอกกุหลาบสีชมพูเหลือบเหลือง ที่มีกลิ่นหอม กล้วยไม้ฟาแลนนอพซิส พรินเซสจุฬาภรณ์ ดอกกล้วยไม้สีขาวชมพูระเรื่อกรุ่นกลิ่นหอมอ่อนๆ
พรรณไม้งามพระนามราชสกุลมหิดล ตอนที่ 4
เป็นพรรณไม้ที่ถูกสำรวจ และเป็นพืชถิ่นเดียวที่พบในประเทศไทย และเป็นพรรณไม้ชนิดใหม่ของโลก ซึ่งได้ตั้งชื่อพรรณไม้ทั้ง 3 ชนิดอันได้แก่ สิรินธรวัลลี เครือเทพรัตน์ และเทียนสิรินธร
“ไฮเดรนเยีย ช่อชั้น หลากสี พื้นถิ่นไม้หนาวนี้ พรั่งพร้อม งดงามอุทยานที่ ราชพฤกษ์ ขาวม่วงชมพูล้อม อีกฟ้างามตา”
กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการปลูกเป็นการค้าแพร่หลายทั่วโลกมานานแล้ว ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกกุหลาบกระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ตาก ฯลฯ