ชื่อโครงการ |
สำนักพัฒนา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
|
หลักการและเหตุผล |
สำนักพัฒนา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้ดำเนินงานพัฒนาชุมชนบนพื้นที่่สูง จัดประชุมแลกเปลี่ยนความรู้เรื่อง เรียนรู้จากประสบการณ์การปลูกองุ่นในพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวง วันที่ 31 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคาร 5 สำนักพัฒนา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
|
|
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากเจ้าหน้าที่ผู้เชียวชาญที่ประสบความสำเร็จในด้านการปลูกองุ่นในพื้นที่ขยายผล เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการปลูกองุ่นให้แก่นักวิชาการ เจ้าหน้าที่โครงการฯ
|
|
วันที่ 31 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคาร 5 สำนักพัฒนา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
|
|
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากเจ้าหน้าที่ผู้เชียวชาญที่ประสบความสำเร็จในด้านการปลูกองุ่นในพื้นที่ขยายผล เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการปลูกองุ่นให้แก่นักวิชาการ เจ้าหน้าที่โครงการฯ
|
|
วันที่ 31 มีนาคม 2559
|
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ดอกสีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวหรือช่อแบบช่อกระจุกตามกิ่ง ดอกย่อย 7-9 ดอก ผลแก่สีเหลืองมีรสหวานอ่อนๆ
เฮลิโคเนียเป็นพืชที่ปลูกเลี้ยงง่าย ต้องการดูแลรักษาไม่มากนัก เมื่อเทียบกับไม้ดอกชนิดอื่น เป็นที่นิยมในวงการตกแต่งสวน
พรรณไม้งามพระนามราชสกุลมหิดล ตอนที่ 1
กันภัยมหิดลเป็นไม้ประจำถิ่นของไทยเพียงแห่งเดียว ซึ่งพบครั้งแรกโดยอาจารย์เกษม จันทรประสงค์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรายุพิน จันทรประสงค์ (เจิมศิริวัฒน์) ที่น้ำตกไทรโยคน้อย จังหวัดกาญจนบุรี
การพัฒนาชาในพื้นที่โครงการหลวง
ชามีแหล่งกำเนิดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีนใกล้ต้นน้ำอิรวดี แล้วแพร่กระจายไปรัฐอัสสัมของอินเดีย ประเทศเมียมาร์ ตอนเหนือของไทยและไปสิ้นสุดที่ประเทศเวียตนาม