ชื่อโครงการ |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในพื้นที่โครงการหลวง
|
หลักการและเหตุผล |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในพื้นที่โครงการหลวง ได้กำหนด จัดประชุมประสานความร่วมมือกลุ่มศูนย์พัฒนาโครงการหลวง วันที่ 15 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุมอาคาร 5 ชั้น 2 สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) จ.เชียงใหม่
|
|
เพื่อติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงานของหน่วยงานในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงที่เกี่ยวข้อง
|
|
วันที่ 15 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุมอาคาร 5 ชั้น 2 สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) จ.เชียงใหม่
|
|
เพื่อติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงานของหน่วยงานในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงที่เกี่ยวข้อง
|
|
วันที่ 15 มีนาคม 2559
|
พรรณไม้งามพระนามราชสกุลมหิดล ตอนที่ 2
ดอกทิวลิป “King Bhumibol” มีสีเหลืองนวลทั้งดอก ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์จากดอกทิวลิป Prince Claus ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากดอกทิวลิป สายพันธุ์ Judith Leyster ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ดีมากสายพันธุ์หนึ่ง
หน่อมไม้ฝรั่งมีคุณค่าทางอาหารสูง โดยเฉพาะ Amino succinamic หรือ asparagines นอกจากนี้ยังมีวิตามิน B C และแคโรทีนสูง สามารถนำมาประกอบอาหารได้หลายชนิด
การพัฒนาชาในพื้นที่โครงการหลวง
ชามีแหล่งกำเนิดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีนใกล้ต้นน้ำอิรวดี แล้วแพร่กระจายไปรัฐอัสสัมของอินเดีย ประเทศเมียมาร์ ตอนเหนือของไทยและไปสิ้นสุดที่ประเทศเวียตนาม
ชาวคะฉิ่นอพยพจากทางใต้ประเทศทิเบตบริเวณต้นแม่น้ำอิระวดี และยังคงสือทอดวัฒนธรรมไว้อย่างเหนียวแน่น