ชื่อโครงการ |
โครงการป่าชาวบ้านฯ
|
หลักการและเหตุผล |
โครงการป่าชาวบ้านฯได้กำหนดจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ป่า (การปลูกป่า) วันที่ 30 กรกฎาคม 2560 ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
|
|
เพื่อสร้างจิตสำนึกและสร้างความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเกี่ยวกับการดูแลและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
|
|
วันที่ 30 กรกฎาคม 2560 ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
|
|
เพื่อสร้างจิตสำนึกและสร้างความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเกี่ยวกับการดูแลและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
|
|
วันที่ 30 กรกฎาคม 2560
|
ปัจจุบัน ประเทศไทยมีการใช้เส้นใยเฮมพ์เพื่อนำมาแปรรูปและใช้ประโยชน์เป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลายชนิด แต่เกษตรกรยังไม่สามารถผลิตเส้นใยเฮมพ์ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย
“ไฮเดรนเยีย ช่อชั้น หลากสี พื้นถิ่นไม้หนาวนี้ พรั่งพร้อม งดงามอุทยานที่ ราชพฤกษ์ ขาวม่วงชมพูล้อม อีกฟ้างามตา”
การพัฒนาชาในพื้นที่โครงการหลวง
ชามีแหล่งกำเนิดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีนใกล้ต้นน้ำอิรวดี แล้วแพร่กระจายไปรัฐอัสสัมของอินเดีย ประเทศเมียมาร์ ตอนเหนือของไทยและไปสิ้นสุดที่ประเทศเวียตนาม
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ดอกสีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวหรือช่อแบบช่อกระจุกตามกิ่ง ดอกย่อย 7-9 ดอก ผลแก่สีเหลืองมีรสหวานอ่อนๆ