ชื่อโครงการ |
โครงการสนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการเรียนรู้การปลูกไม้ผล
|
หลักการและเหตุผล |
โครงการสนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการเรียนรู้การปลูกไม้ผลได้กำหนดการจัดกิจกรรมโครงการเสวนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกและพัฒนาการผลิตองุ่นของไทย ในวันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2561 ณ ห้องประชุมกัลปพฤกษ์ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
|
|
เพื่อถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการปลูกองุ่น ให้ผู้เข้าร่วมเสวนาได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสังเคราะห์องค์ความรู้การปลูกองุ่นตลอดจนระดมความคิดเห็นในการกำหนดแนวทางการพัฒนาการปลูกองุ่นของประเทศไทย
|
|
วันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2561 ณ ห้องประชุมกัลปพฤกษ์ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
|
|
เพื่อถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการปลูกองุ่น ให้ผู้เข้าร่วมเสวนาได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสังเคราะห์องค์ความรู้การปลูกองุ่นตลอดจนระดมความคิดเห็นในการกำหนดแนวทางการพัฒนาการปลูกองุ่นของประเทศไทย
|
|
วันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2561
|
ภูมิปัญญาการสกัดน้ำมันจากพื้ชท้องถิ่น
ปัจจุบันภูมิปัญญาในการสกัดน้ำมันเริ่มสูญหายไป เหลือผู้เฒ่าผู้แก่ที่ทำเป็นอยู่ไม่กี่คน และบางส่วนเริ่มเปลี่ยนไปใช้เครื่องจักรสมัยใหม่
ปัจจุบัน ประเทศไทยมีการใช้เส้นใยเฮมพ์เพื่อนำมาแปรรูปและใช้ประโยชน์เป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลายชนิด แต่เกษตรกรยังไม่สามารถผลิตเส้นใยเฮมพ์ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย
การพัฒนาชาในพื้นที่โครงการหลวง
ชามีแหล่งกำเนิดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีนใกล้ต้นน้ำอิรวดี แล้วแพร่กระจายไปรัฐอัสสัมของอินเดีย ประเทศเมียมาร์ ตอนเหนือของไทยและไปสิ้นสุดที่ประเทศเวียตนาม
ซิมบีเดียมเป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งที่มูลนิธิโครงการหลวงได้นำมาศึกษาการปลูกเลี้ยงบนที่สูงตั้งแต่ พ.ศ.2515 เพื่อศึกษาและทดลองปลูกเลี้ยง