หวายเป็นพืชป่าพวกปาล์มเลื้อยมีหนาม พบมากในป่าเขตร้อน มีชนิดและพันธุ์หลากหลาย ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายของพันธุกรรมหวายมากที่สุดในโลก ในประเทศไทยพบว่ามีประมาณ 60 ชนิด 6 สกุล คิดเป็นครึ่งหนึ่งของสกุลหวายที่มีอยู่ในโลก หวายเป็นพืชท้องถิ่นที่ชุมชนบนพื้นที่สูงยังคงมีการใช้ประโยชน์ในแง่การบริโภคและใช้สอย รายละเอียด...
พื้นที่สูงหลายแห่งในประเทศไทยเป็นที่อยู่อาศัยและที่ทำกินของชาวไทยภูเขา โดยประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ชนิดพืชที่นิยมปลูกมากคือ ผักตระกูลกะหล่ำ มะเขือ พริก ข้าวโพด ไม้ดอก ไม้ผลเมืองหนาว กาแฟ ซึ่งบางชนิดมีการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมีปริมาณมาก รายละเอียด...
โครงการหลวงได้พัฒนาชุมชนชาวเขาในพื้นที่สูงต่างๆ ของพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือตอนบน รวม 38 แห่ง โดยอาศัยองค์ความรู้จากงานวิจัยถ่ายทอดไปยังประชากรชาวเขาในกลุ่มเป้าหมาย ในการประกอบอาชีพการปลูกพืชผัก ไม้ผล พืชไร่ และเลี้ยงสัตว์ ภายใต้ระบบการอนุรักษ์ดินและน้ำ รายละเอียด...
เจ้าคันปุ๋ยหมักที่ว่านี้แท้ที่จริงก็คือการทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกองในพื้นที่แปลงปลูกพืชตามแนวระดับ โดยการนำเศษพืชรวมทั้งเศษกิ่งไม้มากองรวมกันเป็นแนวยาวตามเส้นแนวระดับในพื้นที่จากนั้นก็นำมูลสัตว์ที่หาได้ในไร่ในสวน อาจะเป็นมูลโค มูลสุกร ฯลฯ มาโรยทับกองเศษพืชที่นำมากองไว้ ตามด้วยน้ำหมักชีวภาพ หรือ สารเสริมประสิทธิภาพทางดิน รวมทั้งธาตุอาหารรองในดินชนิดต่างๆ (ถ้ามี) ก็เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการทำคันปุ๋ยหมัก รายละเอียด...
การพัฒนาสังคม จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาหน่วยย่อยของสังคมก่อน โดยเริ่มจากเยาวชนเป็นพื้นฐานสำคัญ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า ที่จะช่วยสร้างพื้นฐานของสังคมในอนาคต เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ รายละเอียด...
หากชุมชนอยู่ห่างไกลในถิ่นทุรกันดาร เป็นอุปสรรคในการเดินทาง หรือคิดไปถึงเรื่องความเจริญของชุมชน ก็อาจจะมีส่วนเกี่ยวข้องอยู่บ้าง แล้วถ้ามองไปถึงเรื่องของปากท้องล่ะ.. อาหารการกินคงจะลำบากไม่แพ้กัน แต่ก็มีบางหมู่บ้านที่ชีวิตความเป็นอยู่อาจจะแตกต่างจากที่อื่น ด้วยปัจจัยเพียงเล็กน้อย ก็สามารถเปลี่ยนชีวิตความเป็นอยู่ให้พอมีพอกินได้ รายละเอียด...
ซิมบีเดียมเป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งที่มูลนิธิโครงการหลวงได้นำมาศึกษาการปลูกเลี้ยงบนที่สูงตั้งแต่ พ.ศ.2515 เพื่อศึกษาและทดลองปลูกเลี้ยง
เสาวรสเป็นไม้ผลเขตร้อนชนิดเถาเลื้อย สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ตามการใช้ประโยชน์ คือเสาวรสโรงงาน และเสาวรสรับประทานสด