ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กิจกรรม

1. การพัฒนาอาชีพ

1. ประชาชนส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพด มีรายได้ต่ำ แต่มีการบุกรุกป่า เผา และใช้สารเคมีมาก

1. ส่งเสริมการปลูกพืชใหม่เพื่อสร้างรายได้ ภายใต้มาตรฐานอาหารปลอดภัย  GAP

2. สร้างรายได้เสริมจากอาชีพนอกภาคเกษตร

1. ส่งเสริมไม้ผลที่มีตลาดรองรับ
2. ส่งเสริมการปลูกพืชผักส่งจำหน่ายตลาดชุมชน/ตลาดข้อตกลง
3. ส่งเสริมงานหัตถกรรม
4. ผลิตภัณฑ์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
5. การที่ท่องเที่ยววัฒนธรรม
2. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

1.ชุมชนยังพึงพาตนเองได้น้อย การออมน้อย หนี้สินมาก เข้าไม่ถึงการบริการ แหล่งทุน

1. สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ วางแผนและดำเนินการพัฒนา
2. ส่งเสริมการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
3. สนับสนุนความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกร

1. ส่งเสริมการทำแผนชุมชน และขับเคลื่อนการนำไปใช้ประโยชน์

2. ส่งเสริมการออม และลดรายจ่ายในครัวเรือน

3. จัดตั้งกลุ่มและกองทุน

3. การพัฒนาด้านการตลาด

1. ไม่มีช่องทางการตลาดรองรับการประกอบอาชีพ /พึ่งพาพ่อค้าคนกลาง

1.ส่งเสริมอาชีพใหม่ที่มีตลาดรองรับ
2. สนับสนุนกลุ่มในการจัดการด้านการตลาด
3. พัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อรองรับการจัดการด้านตลาด
 
 

1. ส่งเสริมอาชีพและจัดหาตลาดรองรับ

2. ส่งเสริมพืชที่เชื่อมโยงกับโครงการหลวง

3. จัดตั้งกลุ่ม/กลุ่มวิสาหกิจ/สหกรณ์

4. สร้างโรงคัดบรรจุ

4. การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

1. การบุกรุกป่า เผา และใช้สารเคมีมากจากข้าวโพด พื้นที่เสื่อมโทรมจากการใช้พื้นที่ไม่ถูก

1. ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

2. การจัดทำแผนที่ดินรายและและนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับระบบเกษตรและการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม

1. การปลูกป่าชาวบ้าน

2. การปลูกแฝก

3. การฟื้นฟูป่าชุมชน

4. การจัดทำฝาย

5. การลดใช้สารเคมี

6. ส่งเสริมการทำคันปุ๋ย

7. ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบกาการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน

5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

1.พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำทั้งอุปโภคและบริโภค

1. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อบริโภค

2. พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการเกษตร

1. ขุดเจาะน้ำบาดาล

2. พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการเกษตร

 

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2560)  , สำนักพัฒนา 



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2560