ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กลยุทธ์
1. การพัฒนาอาชีพบนพื้นฐานความรู้

1. ประชาชนส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพด มีการลักลอบตัดไม้ทำลายป่า มีรายได้ต่ำ และใช้สารเคมีมาก

1. การลดพื้นที่ปลูกข้าวโพดโดยส่งเสริมการปลูกไม้ผล(มะม่วง เงาะ ลองกอง) 75 ราย 300 ไร่

2. ส่งเสริมปลูกพืชรายได้ระยะสั้น (ผักในโรงเรือน)โดยกระบวนการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 50 ราย 100 โรงเรือน

3. การส่งเสริมการปลูกถั่วเหลือง 150 ราย 1,000 ไร่

4. พืชที่ส่งเสริมได้รับการรับรอง GAP 200 ราย

5. สนับสนุนการเลี้ยงหมูหลุม และวัว เพื่อใช้มูลในการผลิตพืช

1. ใช้เกษตรกรผู้นำในการช่วยกันขยายงานส่งเสริมอาชีพให้แก่เกษตรกรรายใหม่

2. ใช้ระบบเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารและระบบฐานข้อมูลต่างๆที่ สวพส.มีในการสนับสนุนงานส่งเสริมอาชีพ

3. ร่วมกลุ่มกันผลิตละจำหน่ายผลผลิตภายใต้มาตรฐานGAP

4. สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำแปลงสาธิตและกลุ่มเกษตรกร

2. การส้รางความเข้มแข็งของชุมชน 

1. ชุมชนมีหนี้สินมากและขาดการรวมกลุ่มที่เข้มแข็ง

1 .สร้างการความเข้มแข็งของคนในชุมชนโดยการนอบนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติในชุมชน 6 แห่ง 6 ชุมชน

2. ดำเนินการพัฒนาชุมชนโดยใช้แผนชุมชนเป็นกลไกลสำคัญในการพัฒนา 6 แผน 6 ชุมชน

3. สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเตรียมสหกรณ์เพื่อพัฒนาจดทะเบียนเป็น กลุ่มสหกรณ์ 1กลุ่ม

4. สร้างเครือข่ายขยายช่องทางการตลาด 1เครือข่าย 

1. ส่งเสริมจัดทำแผนชุมชนและขับเคลื่อนแผนชุมชนไปเสนอเพื่อของบประมาณ

2. ประสานงานหน่วยงานร่วมบูรณาการเพื่อช่วยในการจัดการกลุ่มเตรียมสหกรณ์เพื่อจัดตั้งเป็นสหกรณ์

3. ทบทวนแผนชุมชนเป็นประจำทุกปี

4. สร้างเครือข่ายขยายช่องทางการตลาด 1เครือข่าย

3. การอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

1. มีการใช้สารเคมีมากจากข้าวโพด พื้นที่เสื่อมโทรมจากการใช้พื้นที่ไม่ถูก

1. ส่งเสริมการนำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินวางแผนการปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 6 แผน 6 ชุมชน 60 ราย 60 แปลง

2. ส่งเสริมการปลูกป่าชาวบ้าน 120 ราย 1200 ไร่

3. ฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน และพืชท้องถิ่น 3 ชนิด 3 ชุมชน (ไผ่ หวาย ต๋าว)

4. ส่งเสริมกิจกรรมอนุรักษ์ ทำฝาย แนวกันไฟ ฯล

1. ใช้แผนที่ดินรายแปลงในการดำเนินกิจกรรมในการพัฒนาส่งเสริม

2. สนับสนุนงบประมาณในการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์และจัดกิจกรรมรณรงค์

3. เร่งรัดส่งเสริมปลูกป่าชาวบ้านในพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ (ไม้สักทอง)

4. ร่วมกับหน่วยจัดการต้นน้ำในพื้นที่ส่งเสริม ปลูกไผ่ และมะม่วงหิมพาณ

4. การบริหารจัดการ

 

1. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และผลิตพันธุ์พืชแบบโครงการหลวง

2. ประสานงานการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานร่วมบูรณาการโดยการจัดทำแผนบูรณาการและมีการประชุมคณะทำงานในระดับจังหวัด 1 ครั้ง

3. ประชุมคณะทำงานในระดับอำเภอ 4 ครั้ง

1. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และผลิตพันธุ์พืชแบบโครงการหลวง

2. สร้างเกษตรกรให้เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้และเป็นแหล่งดูงาน

3. รวบรมฐานข้อมูลของชุมชนในด้านการพัฒนาพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด

5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

1. พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำและระบบส่งน้ำเพื่อทำการเกษตร

1. สนับสนุนและประสานงานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิตทางการเกษตร โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ 1 แห่ง 6 ชุมชน ตามความต้องการในแผนชุมชน

2. สนับสนุนพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กในแปลงส่งเสริมอาชีพเพื่อลดการปลูกข้าวโพด 50 จุด

3. ขอรับการสนับสนุนระบบอนุรักษ์ดิน 2,400 ไร่

1. ใช้แผนที่ดินรายแปลงในการดำเนินกิจกรรมในการพัฒนาส่งเสริม

2. ใช้แผนชุมชนในการขับเคลื่อนเพื่อขอรับการสนับสนุน

3. มีการประชุมเพื่อติดตามและเสนอแผนความต้องการของชุมชน

4. ใช้งบประมาณของโครงการในการดำเนิการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าไปก่อน

 

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2560)  , สำนักพัฒนา 



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2560