ด้าน | สถานการณ์/ปัญหา | แนวทางการพัฒนา | กิจกรรม |
---|---|---|---|
1. การวิจัย |
1.มีการใช้สารเคมีมาก |
1.ส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมี |
1.ใช้สารชีวภัณฑ์กับพืชที่ส่งเสริม |
2. การพัฒนาอาชีพ |
1. พื้นที่ในการทำการเกษตรมีอย่างจำกัด 2. การปลูกพืชเชิงเดี่ยว (ข้าวโพด, กะหล่ำปลี) 3. มีการใช้สารเคมีสูง 4. ต้นทุนการผลิตสูง 5. ชนิดพืชที่ปลูกมีน้อย 5.1 ไม่มีความหลากหลายของชนิดพืชที่ปลู 5.2 ไม่มีพืชทางเลือก 6. ราคาผลผลิตต่ำ 7. ไม่มีงบประมาณในการทำการเกษตร
2. ขาดความรู้ทางวิชาการที่เหมาะสมในการปลูกพืชในการทำการเกษตร |
1.อาชีพทางเลือกที่ใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรน้อย ใช้น้ำน้อยและมีรายได้ต่อพื้นที่สูง 2. ส่งเสริมการปลูกพืชใหม่เพื่อสร้างรายได้ |
1.ส่งเสริมการปลูกผักในและนอกโรงเรือน (เน้นความหลากหลายของชนิดพืช) 2.ส่งเสริมการปลูกไม้ผล |
3. รวบรวมและจำหน่ายผลผลิตในรูปแบบ กลุ่มสหกรณ์ฯ |
3. รวบรวมและซื้อขายผลผลิตในรูปแบบสหกรณ์ |
||
4. ส่งเสริมการปลูกพืชโดยใช้เทคโนโลยีจากโครงการหลวงเพื่อสร้างรายได้ |
4.ส่งเสริมการปลูกพืชโดยเชื่อมโยงกับตลาดโครงการหลวง และตลาดข้อตกลง |
||
3. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน |
1.ภาระค่าใช้จ่ายในครอบครัวมีมากกว่ารายได้ทำให้เกิดหนี้สิน 2.มีหนี้สินต่อครัวเรือนมาก (หนี้จากพ่อค้าคนกลาง) 3. การออมเงินมีน้อย 4. เข้าไม่ถึงแหล่งทุน (สถาบันการเงิน) 5. ยาเสพติด |
1. สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ วางแผนและดำเนินการพัฒนา |
1. ส่งเสริมการทำแผนชุมชน และขับเคลื่อนการนำไปใช้ประโยชน์ |
2. ส่งเสริมการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง |
2. ส่งเสริมการออม |
||
3. สนับสนุนความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกร |
3. จัดตั้งกลุ่มและกองทุน |
||
4. การอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม |
1. มีการขยายพื้นที่ทำกิน 2. มีการใช้สารเคมีทางการเกษตรปริมาณมาก 3. น้ำมีการปนเปื้อนของสารเคมี 4. มีการเผาพื้นที่ทำกินและเผาป่า 5. การทิ้งขยะในชุมชน |
1. ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม |
1. การปลูกป่าชาวบ้าน 2. การปลูกแฝก 3. การฟื้นฟูป่าชุมชน 4. การจัดทำฝาย 5. จัดทำแนวกันไฟ 6.การบวชป่าต้นน้ำ 7. การลดใช้สารเคมี |
2. ปรับระบบการเกษตรและการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม |
2. ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบกาการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน |
||
5. การตลาดและโลจิสติกส์ |
1. มีกระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวที่ยังไม่เป็นไปตามระบบ 2. ช่องทางการตลาดรองรับมีน้อย 3. พึ่งพาพ่อค้าคนกลาง 4. ผลผลิตไม่ได้คุณภาพตรงตามความต้องการของตลาด 5. ไม่มีการจำหน่ายผลผลิตในรูปแบบของกลุ่ม |
1. สนับสนุนระบบการคัดคุณภาพผลผลิต 2. ส่งเสริมอาชีพที่มีความหลากหลายและมีตลาดรองรับ |
1. จัดอบรมในการคัดเกรดและการคัดคุณภาพของผลผลิต 2.ส่งเสริมการปลูกพืชให้มีความหลากหลายและมีตลาดรองรับ 3. การปลูกพืชในระบบ GAP |
๒.พัฒนาปัจจัยพื้นฐานให้ได้มาตรฐานเพื่อรองรับการจัดการผลผลิตและการตลาด |
1. ปรับปรุงและพัฒนาโรงคัดบรรจุให้ได้มาตรฐานตามระบบโครงการหลวงและเพียงพอต่อการใช้งาน 2. พัฒนาระบบการวิเคราะห์สารให้ได้มาตรฐานตามระบบโครงการหลวงและสามารถรองรับการวิเคราะห์สาร |
||
6. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน |
1. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นถนนรุกรัง 2. พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำเพื่อการเกษตร 3. น้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภคมีไม่เพียงพอในช่วงฤดูแล้ง |
1. พัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่ง |
1. ประสานงานกับหน่วยงานร่วมบูรณาการเพื่อเข้าไปพัฒนาในพื้นที่ |
2. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร |
2. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็กในการทำการเกษตร |
ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2559) , สำนักพัฒนา