ด้าน | สถานการณ์/ปัญหา | แนวทางการพัฒนา | กิจกรรม |
---|---|---|---|
1. การวิจัย |
1. ราคาผลผลิตต่ำ 2. มีการใช้สารเคมีจำนวนมากและไม่ถูกต้อง 3. ต้นทุนการผลิตสูง 4. ชนิดพืชไม่หลากหลาย |
1.ลดต้นทุนการผลิต 2.ส่งเสริมการใช้ปัจจัยการผลิตชีวภาพ ลดการใช้สารเคมี 3.ส่งเสริมการรวมกลุ่มในชุมชน |
1.การศึกษาการใช้ชีวภัณฑ์เกษตรในการควบคุมศัตรูพืช 2.การศึกษากระบวนการยอมรับตลาดผลผลิตของเกษตรกรในแต่ละช่องทางการตลาด 3. การทดสอบการปลูกพืชทางเลือกชนิดอื่น |
2. การพัฒนาอาชีพ |
1.ประชากรส่วนใหญ่มีฐานะยากจน 2. ผลผลิตข้าวต่ำและมีปริมาณไม่เพียงพอต่อการบริโภค 3. ขาดอาชีพหลักในบางหมู่บ้าน 4. มีการพึ่งพาปัจจัยภายนอกมากเกินไป 5. ผลผลิตการเกษตรไม่ได้คุณภาพ 6. ราคาผลผลิตตกต่ำ ซึ่งเป็นปัญหาที่เชื่อมโยงมาจากผลผลิตไม่ได้คุณภาพ 7. มีต้นทุนในการผลิตสูง และมีตลาดรองรับน้อย 8. ขาดการรวมกลุ่มภายในชุมชนเพื่อการจำหน่ายสินค้าการเกษตร |
1. ส่งเสริมการประกอบอาชีพการเกษตรและนอกภาคเกษตร โดยถ่ายทอดจากองค์ความรู้โครงการหลวง |
1. ส่งเสริมการปลูกผักในโรงเรือน 2. ส่งเสริมการปลูกพืชชนิดที่มีมูลค่าสูง 3. ส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเหลี่ยมด้วยพืชตระกูลถั่ว 4. ส่งเสริมการปลูกไม้ผลเพื่อเสริมการท่องเที่ยว |
2. ปรับปรุงคุณภาพผลผลิตการเกษตรและหาช่องทางการตลาดรองรับ |
5. ส่งเสริมการปลูกพืชผักส่งจำหน่ายตลาดชุมชน/ตลาดข้อตกลง และตลาดโครงการหลวง |
||
3. ปรับปรุงคุณภาพผลผลิตการเกษตรและหาช่องทางการตลาดรองรับ |
6. ส่งเสริมงานหัตถกรรม และผลิตภัณฑ์จากความหลากหลายทางชีวภาพ |
||
3. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน |
1. การเพิ่มขึ้นของประชากรจำนวนมาก 2. มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ 3. มีการย้ายเข้ามาของแรงงานต่างด้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน 4. ขาดแคลนที่ดินทำกินในบางหมู่บ้าน |
1. สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ วางแผนและดำเนินการพัฒนา |
1. ส่งเสริมการทำแผนชุมชน และขับเคลื่อนการนำไปใช้ประโยชน์ 2. ชุมชนติดตามและประสานการใช้ประโยชน์จากแผนชุมชนจากหน่วยงานต่างๆ |
|
5. ชุมชนยังพึงพาตนเองได้น้อย การออมน้อย หนี้สินมาก เข้าไม่ถึงการบริการ แหล่งทุน |
2. ส่งเสริมการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง |
3. ส่งเสริมการออม 4. การจัดทำบัญชีครัวเรือน |
3. สนับสนุนความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกร |
5. จัดตั้งกลุ่มและกองทุน 6. ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต่างๆ |
||
4. การอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม |
1. ขาดน้ำเพื่อการเกษตร โดยเฉพาะในฤดูแล้งไม่มีน้ำ 2. มีการบุกรุกและแผ้วถางพื้นที่ป่าไม้ 3. ดินเสื่อมโทรม เนื่องจากขาดการปรับปรุงบำรุงดิน 4. การใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรมาก |
1. ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม 2. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรเป็นหลัก รวมทั้งน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค |
1. การปลูกป่าชาวบ้าน 2. การปลูกแฝก 3. การฟื้นฟูป่าชุมชน 4. การจัดทำฝาย 5. การลดใช้สารเคมี |
3. ปรับระบบเกษตรและการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม |
6. ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน |
||
4.การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ |
7. การปรับปรุงบำรุงดิน |
||
5. การตลาดและโลจิสติกส์ |
1. ไม่มีช่องทางการตลาดรองรับการประกอบอาชีพ 2. พึ่งพาพ่อค้าคนกลาง ราคาผลผลิตไม่แน่นอน 3. ช่องทางการขนส่งไปยังตลาดต่างๆ มีน้อยและจำกัด |
1. ส่งเสริมอาชีพใหม่ที่มีตลาดรองรับ |
1. ส่งเสริมอาชีพและจัดหาตลาดรองรับ |
2. สนับสนุนกลุ่มในการจัดการด้านการตลาด |
2. จัดตั้งกลุ่ม/กลุ่มวิสาหกิจ/สหกรณ์ 3. หาช่องทางการขนส่งสินค้าเพิ่ม 4. ช่องทางการขนส่งที่มีคุณภาพ เพื่อลดความเสียหายของผลผลิต |
||
3. พัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อรองรับการจัดการด้านตลาด |
5. สร้างโรงคัดบรรจุ/โรงวิเคราะห์สาร |
||
6. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน |
1. พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำทั้งอุปโภคและบริโภค 2. เส้นทางสัญจรเข้าบางหมู่บ้านยังคงเป็นทางลูกรังและเข้าถึงลำบากในช่วงฤดูฝน |
|
1. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อบริโภค และแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการเกษตร |
ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2559) , สำนักพัฒนา