ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กลยุทธ์
1. การพัฒนาอาชีพ 1. ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมไม่มีอาชีพที่สร้างรายได้ ประเพณีและวัฒนธรรมของคนในชนเผ่าไม่เอื้อต่อกรส่งเสริมพืชผลที่ต้องใช้ความประณีต และสภาพพื้นที่ทำการเกษตรมีความลาดชัน

1. ส่งเสริมปลูกพืชผักในโรงเรือนและนอกโรงเรือน 40 ราย 20 ไร่

2. ส่งเสริมการปลูกไม้ผล(องุ่น,เสาวรส,อโวคาโด้,พลับ) 40 ราย

3. ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตข้าว 100 ราย 300 ไร่

4. ส่งเสริมการปลูกกาแฟ 30 ราย 50 ไร่

5. ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์และประมง 10ราย 10 ฟาร์ม

6. ส่งเสริมการท่องเที่ยว 10 ราย 1 กลุ่ม

7. ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิต 20 ราย 1 กลุ่ม

1. ใช้เกษตรกรผู้นำและเกษตรกรตัวอย่างในการช่วยกันขยายงานส่งเสริมอาชีพให้แก่เกษตรกรรายใหม่

2. ใช้ระบบเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารและระบบฐานข้อมูลต่างๆที่ สวพส.มีในการสนับสนุนงานส่งเสริมอาชีพ

3. ร่วมกลุ่มผู้ผลิตและจำหน่ายผลผลิตภายใต้มาตรฐานGAP

4. อบรมถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการเกษตร

5. สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำแปลงสาธิตและกลุ่มเกษตรกร

 

2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 1. ขาดการรวมกลุ่มที่เข้มแข็ง เกษตรกรยังยึดติดกับการสนับสนุน(ของฟรี)จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
1. ผลักดันให้กลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและสหกรณ์
2. ผลักดันให้เกิดการใช้ประโยชน์จากแผนชุมชน
3. ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลอดทั้งปี
4. สร้างสัญลักษณ์ประจำกลุ่มให้ได้รับการยอมรับจากภายนอก
5. สร้างประวัติความเป็นมาของการรวมกลุ่มของชุมชน นำเสนอและเผยแพร่เอกลักษณ์ภูมิปัญญาประจำท้องถิ่น
6. การขยายช่องทางตลาดที่หลากหลาย
1. สร้างงาน ,สร้างอาชีพและรายได้ในชุมชน
2. สร้างชุมชนเข้มแข็งสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน(พึ่งตนเอง)
3. พัฒนาเยาวชนให้มีจิตสำนึกรักบ้านเกิด
4. 365 วันมันส์ไม่ซ้ำในบ่อเกลือ
3. การอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม 1. เกษตรกรทำไร่หมุนเวียนต้องใช้พื้นที่ในการปลูกข้าวไร่จำนวนมากเพื่อจะได้ผลผลิตข้าวเพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือน พื้นที่มีความลาดชันหน้าดินถูกชะล้าง สภาพดินเสื่อมโทรมเป็นกรดและขาดอินทรียวัตถุ

1. ส่งเสริมการนำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินวางแผนการปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 4 แผน 4ชุมชน

2. ส่งเสริมการปลูกป่าชาวบ้าน 15 ราย 125 ไร่

3. ส่งเสริมการปลูกป่าชาวบ้าน 1,000 ต้น

4. สนับสนุนการปลูกหญ้าแฝก 30,000 กล้า

5. ส่งเสริมกิจกรรมอนุรักษ์ ทำฝาย แนวกันไฟ ฯล

6. ฟื้นฟูและปรับปรุงดิน 60 ราย 20 ตัน

7. ลดใช้สารเคมีและระวังการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม

1. ใช้แผนที่ดินรายแปลงในการดำเนินกิจกรรมในการกำหนดเขตป่าและที่ทำกิน

2. สนับสนุนงบประมาณในการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์และจัดกิจกรรมรณรงค์

3. เพิ่มพื้นที่สีเขียว คืนความสมบูรณ์สู่ผืนป่าต้นน้ำ

4. สร้างแหล่งศึกษาเส้นทางธรรมชาติ

4. การตลาดและโลจิสติกส์ 1. เกษตรกรไม่มีอำนาจในการต่อรองราคากับพ่อค้าคนกลาง และไม่มีแหล่งรวบรวมและคัดบรรจุผลผลิตในพื้นที่ เส้นทางการขนส่งลำบากทำให้สินค้าเกิดการเสียหายระหว่างการขนส่ง

1. สร้างการความเข้มแข็งของคนในชุมชนโดยกระบวนการรวมกลุ่มไปสู่การปฏิบัติในชุมชน 4 ชุมชน

2. ดำเนินการพัฒนาชุมชนโดยใช้แผนชุมชนเป็นกลไกลสำคัญในการพัฒนา 4 แผน 4 ชุมชน

3. สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกรเพื่อเตรียมพัฒนาเป็น กลุ่มสหกรณ์

4. สร้างเครือข่ายขยายช่องทางการตลาด  เครือข่าย 

5. สนับสนุนและพัฒนาชุมชนต้นแบบโครงการหลวง 2 ชุมชน (ห้วยโทนและสว้าใต้)

1. ส่งเสริมจัดทำแผนชุมชนและขับเคลื่อนแผนชุมชนไปสู่การปฏิบัติการ

2. ส่งเสริมการบูรณาการร่วมกับชุมชนและหน่วยงาน

3. ทบทวนแผนชุมชนเป็นประจำทุกปี

4. สร้างเครือข่ายขยายช่องทางการตลาด 1เครือข่าย 

5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 1. งบประมาณของหน่วยงานทางภาครัฐไม่เพียงพอต่อความต้องการของชุมชน พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำและระบบส่งน้ำเพื่อการบริโภคและทำการเกษตร

1. การใช้แผนชุมชนร่วมในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

2. การร่วมมือกันของชุมชนและหน่วยงานต่างๆ

1. ใช้แผนที่ดินรายแปลงในการดำเนินกิจกรรมในการพัฒนาส่งเสริมกิจกรรม

2. ใช้แผนชุมชนในการขับเคลื่อนเพื่อขอรับการงบประมาณสนับสนุน

3. มีการรวมกลุ่มพัฒนาการกระจายน้ำและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานในชุมชน

4. มีแหล่งพักน้ำและระบบกระจายน้ำเข้าสู่พื้นที่ทำการเกษตรอย่างทั่วถึงและเพียงพอต่อความต้องการ

 5. มีเส้นทางลำเลียงผลผลิตที่สะดวกต่อการขนส่ง

 

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2560)  , สำนักพัฒนา 



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2560