ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กลยุทธ์
1. การวิจัย  

1. การใช้ชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้ สารเคมี การใช้ GA จำนวน 250 ราย 160 ไร่ 160 โรงเรือน

1. สนับสนุนต่อยอดการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น

2. การพัฒนาอาชีพบนพื้นฐานความรู้  

1. การปลูกข้าวเหลื่อมด้วยพืชตระกูลถั่ว 155 ราย 230 ไร่

2. การจัดการธาตุอาหารพืช  265 ราย 460 ไร่

3. ส่งเสริมการปลูกพืชผักในและนอกโรงเรือน  250 ราย 210  ไร่ 125 โรงเรือน 5 ชนิด

4. ส่งเสริมการปลูกพลับ อาโวคาโด กาแฟ  193 ราย 460  ไร่

1. การปลูกข้าวโพด/ข้าวไร่ ที่ไม่เผาเศษวัสดุจากการเกษตรที่เหลือใช้

2. การปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวนาขั้นบันได

3. สนับสนุนส่งเสริมปลูกพืชสร้างรายได้ระยะสั้นระยะปานกลางภายใต้ระบบการปลูกเป็นมิตรต่อส่งแวดล้อม

4. สนับสนุนส่งเสริมปลูกพืชสร้างรายได้ระยะยาว(ไม้ผลยืนต้น) 

3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และการพัฒนาการตลาด

1. ยังไม่มีการรวมกลุ่มที่มีความเข้มแข็ง และเป็นระบบ

1. นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติในชุมชน 11 แห่ง 11 ชุมชน

2. ใช้แผนชุมชนเป็นกลไกลสำคัญในการพัฒนา 11 แผน 11 ชุมชน

3. สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มพึ่งตนเอง กลุ่มวิสาหกิจ และกลุ่มเตรียมสหกรณ์

 

1. สร้างการความเข้มแข็งของคนในชุมชนโดยการนอบนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติในชุมชน

2. ดำเนินการพัฒนาชุมชนโดยใช้แผนชุมชนเป็นกลไกลสำคัญในการพัฒนา

3. สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มต่างๆ 

4. จัดหาช่องทางการตลาด 

4. การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

1. มีการบุกรุกพื้นที่ป่า

2. ขอบเขตพื้นที่ทำกินไม่ชัดเจน

1. ความคุมการบุกรุกพื้นที่ป่าและปรับการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมตามหลักวิชาการ 3 แห่ง 3 ชุมชน 150 ราย 300 ไร่

2. ปลูกและฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร และระบบนิเวศ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 4 ชุมชน 85 ราย 95 ไร่

3. อนุรักษ์ดินและน้ำ และฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินที่เสื่อมโทรม 4 ชุมชน 1,000 ไร่

4. ฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน และพืชท้องถิ่น 5 ชนิด 4 ชุมชน 130 ราย 155 ไร่

1. กำหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน

2. ปลูกและฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร และระบบนิเวศ

3. อนุรักษ์ดินและน้ำ และฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน

4. ฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน และพืชท้องถิ่น

5. ควบคุมการปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อม

5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

1. ข้าวไม่เพียงพอต่อการบริโภค

2. ขาดระบบน้ำในการทำการเกษตร และอุปโภคบริโภค

3. การคมนาคมไม่สะดวก

1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิตทางการเกษตร โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ 4 แห่ง 4 ชุมชน

1. สนับสนุนและประสานงานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิตทางการเกษตร โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนใน
6. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ  

1. พัฒนาแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานของหน่วยงานและเกษตรกรที่สนใจ

2. ประชุมคณะทำงานในระดับอำเภอ 3 ครั้ง

1. จัดทำแปลงสาธิตการเรียนรู้ และพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานของหน่วยงานและเกษตรกรที่สนใจ

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2560)  , สำนักพัฒนา  



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2560