ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กลยุทธ์

1. การพัฒนาอาชีพ

 

1. ขยายพื้นที่ดำเนินงานให้ครบทุกพื้นที่รับผิดชอบ

2. มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการปลูกผักในโรงเรือน และปลูกไม้ผลทั้งภายใและภานนอกโรงเรือน

3. ดำเนินรับรองมาตรฐาน GAP

4. พัฒนาการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน

5. ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์เสณษฐกิจ

1. ส่งเสริมการปลูกพืชผักใช้พื้นที่น้อย ผลตอบแทนสูง

2. ส่งเสริมการปลูกไม้ผลยืนต้นและไม้ผลขนาดเล็ก

3. ส่งเสริมการปลูกพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวล้อม ภายใตเมาตรฐานอาหารปลอดภัย (GAP) 

4. พัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ให้ได้มาตรฐานการท่องเที่ยว

5. ใช้ระบบเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารและระบบฐานข้อมูลต่างๆที่ สวพส. ใช้ในการสนับสนุนงานส่งเสริมอาชีพ

6. รวมกลุ่มการผลิตและจำหน่ายผลผลิตภายใต้มาตรฐาน GAP

7. สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำแปลงสาธิตและกลุ่มเกษตรกร

2. ความเข้มแข็งของชุมชน และการตลาด

1. ยังไม่มีใบรับรองมาตรฐาน GAP

2. ยังไม่มีัการตั้งกลุ่มต่างๆ

1. จัดทำแผนชุมชนให้ครบทุกพื้นที่รับผิดชอบ

2. ส่งเสริมการออมเงินจากการจำหน่ายผลผลิต

3. จัดตั้งกลุ่มอาชีพ

4. สร้างเกษตรกรผู้นำ

5. จัดกิจกรรมโครงการหมู่บ้านสะอาด

 6. จัดกิจกรรมสืบสานประเพณีและวัฒนธรรม

1. ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ชุมชน และการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ

2. ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนให้พึ่งพาตนเองได้ และดำรงชีวิตให้อยู่ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3. วางแผนการผลิตและการตลาดที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยการขับเคลื่อนของกลุ่มชุมชนในกระบวนการมีส่วนร่วม

4. ส่งเสริมการออมเงินตามแบบเศรษฐกิจพอเพียง

5. สร้างและพัฒนาผู้นำชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาในด้านต่างๆ 

6. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจ

7. จัดกิจกรรมสืบสานประเพณีและวัฒนธรรม

3. การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

1. ไม่มีการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร

2. ไม่มีการปลูกป่าชาวบ้าน

1. ส่งเสริมการนำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน วางแผนการปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม

2. ส่งเสริมการปลูกป่าชาวบ้าน

3. ฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน และพืชท้องถิ่น

4. ส่งเสริมกิจจกรรมอนุรักษ์ทำฝาย แนวกันไฟ ฯลฯ

1. ใช้แผนที่ดินรายแปลงในการดำเนินกิจกรรมในการพัฒนาส่งเสริม

2. สนับสนุนงบประมาณในการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์และจัดกิจกรรมรณรงค์

3. เร่งรัดส่งเสริมการปลูกป่าชาวบ้านในพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ (ไม้สักทอง)

4. ร่วมกับหน่วยจัดการต้นน้ำในพื้นที่ส่งเสริมปลูกไผ่ และมะม่วงหิมพาน

4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

1. การคมนาคมลำบาก

2. ไม่มีการสร้างฝาย ถังพักน้ำพร้อมระบบส่งน้ำเพื่อการอุปโภค

1. สนับสนุนและประสานงานการพัมนาโครงสร้างพื้นฐานที่นับสนุนการผลิตทางการเกษตร โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ

2. ปรับปรุงถนนเข้าสู่พื้นที่เกษตร

3. ก่อสร้างฝาย ถังพักน้ำพร้อมระบบส่งน้ำเพื่อการอุปโภค

4. สนับสนุนระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ

1. ใช้แผนที่ดินรายแปลงในการดำเนินกิจกรรมในการพัฒนาส่งเสริม

2. ใช้แผนที่ชุมชนในการขับเคลื่อนเพื่อขอรับการสนับสนุน

3. มีการประชุมเพื่อติดตามและเสนอแผนตวามต้องการของชุมชน

4. ใช้งบประมาณของโครงการในการดำเนินการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไปก่อน

5. เสนอโครงการตามแผนชุมชนต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

5. การบริการจัดการ

1. ไม่มีห้องวิเคราะห์สาร เพื่อใช้สำหรับวิเคราะห์สารพิษตกค้างของผลผลิตในพื้นที่

2. ไม่มีโรงคัดบรรจุผลผลิตของเกษตรกรในพื้นที่

1. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และผลิตพันธุ์พืชแบบโครงการหลวง

2. ประสานงานการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานร่วมบูรณาการ โดยการจัดทำแผนบูรณาการและมีการประชุมคณะทำงานในระดับจังหวัด

3. ประชุมคณะทำงานในระดับอำเภอ

1. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และผลิตพันธุ์พืชแบบโครงการหลวง

2. สร้างเกษตรกรให้เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ และเป็นแหล่งดูงาน

3. รวบรวมฐานข้อมูลของชุมชนในด้านการพัฒนาพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด

 

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2560)  , สำนักพัฒนา



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2561