ปัญหาและแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ สถานการณ์/ปัญหา แนวทางการพัฒนา กลยุทธ์
1. การวิจัย

1. ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ของดิน

2. ข้าวไร่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ

3. พบโรค แมลงระบาดเพิ่มมากขึ้นในการปลูกพืช
4 .เพิ่มพืชทางเลือกเพื่อทดแทนการปลูกข้าวโพดในพื้นที่

1. โครงการปลูกข้าวโพดโดยไม่เผาและปลูกสลับด้วยพืชตระกูลถั่ว 200 ราย 1,500 ไร่

2. โครงการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อ เสริมสร้างการผลิตข้าวบนพื้นที่สูง 50 ราย 500 ไร่

3. โครงการทดสอบเฮมพ์ภายใต้ระบบการควบคุม 20 ราย 100 ไร่

1. สนับสนุนต่อยอดการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. การพัฒนาอาชีพบนพื้นฐานความรู้

1. ผลผลิตทางด้านการเกษตรตกต่ำ

2. ขาดตลาดรองรับผลผลิต

3. ขาดการจัดการผลผลิตทางด้านการเกษตร การแปรรูป  การขนส่ง

4. ขาดอาชีพทางเลือก และการรวมกลุ่ม เพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรอง

5. ขาดองค์ความรู้และเทคนิคทางด้านวิชาการ

 

1. งานด้านพืชผัก ส่งเสริมการปลูกพืชเดิมและชนิดใหม่เพื่อสร้างรายได้สามารถลดพื้นที่การปลูกข้าวโพดได้ 17 ชนิด 150 ราย/3,000 ไร่

2. สนับสนุนส่งเสริมปลูกพืชสร้างรายได้ระยะยาว(ไม้ผลยืนต้น) 13 ชนิด 299 ราย 454 ไร่ 55 โรงเรือน  

3. การปลูกข้าวโพดสลับด้วยพืชตระกูลถั่ว 200 ราย 1,500 ไร่

4. การปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวไร่ เช่น การจัดการธาตุอาหารพืช 50 ราย 500 ไร่
5. ส่งเสริมการปลูกข้าวนาขั้นบันได(ในพื้นที่หมู่บ้านขยาย) 30 ราย 60 ไร่

6. งานทดสอบสาธิตการปลูก Hemp ในเชิงพาณิชย์ 20 ราย 100 ไร่

7. ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์จำนวน 4 ชนิด สุกร ไก่ ปลา กบ  50 ราย 60 ฟาร์ม

8. ส่งเสริมงานหัตถกรรม (ผ้าปักชาวเขาเผ่าม้ง) 2 กลุ่ม 40 ราย

9. ส่งเสริมการแปรรูปข้าวเพื่อจำหน่าย 1 กลุ่ม 30 ราย

1. สนับสนุนส่งเสริมปลูกพืชสร้างรายได้ระยะสั้นและระยะปานกลางภายใต้ระบบการปลูกเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและการพัฒนาการตลาด

1. ขาดการจัดการด้านภูมิปัญญาและการสืบทอดไปยังคนรุ่นลูกรุ่นหลาน 

2. มีภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นต่อครัวเรือน

3. มีค่าวัตถุนิยมที่สูงขึ้น

4. มีการศึกษาต่ำกว่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานรองรับ

5. ประชากรบางส่วนออกไปทำงานและค้าขายอยู่นอกชุมชน

6. ตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตรมีน้อย

7. ขาดการรวมกลุ่มเพื่อต่อรองการจำหน่ายผลผลิตทางด้านการเกษตร

8. พืชบางชนิดปลูกได้ผลผลิตแต่ขาดตลาดรองรับที่ชัดเจน

1. การจัดทำแผนชุมชนและขับเคลื่อนแผนชุมชน  6 หมู่บ้าน

2. ส่งเสริมกิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน 5 หมู่บ้าน

3 .ส่งเสริมอาชีพทางเลือก และจัดหาตลาดรองรับที่แน่นอน  3 หมู่บ้าน

4. สนับสนุนให้มีการสร้างจุดจำหน่ายผลผลิตทางด้านการเกษตร (ตลาดชุมชน) 3หมู่บ้าน

5. สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มพึ่งตนเอง 10 กลุ่ม กลุ่มวิสาหกิจ 3 กลุ่ม กลุ่มเตรียมสหกรณ์ 1 กลุ่ม และกลุ่มสหกรณ์ 2 กลุ่ม  

 

1. สร้างการความเข้มแข็งของคนในชุมชนโดยการนอบนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติในชุมชน

2. ดำเนินการพัฒนาชุมชนโดยใช้แผนชุมชนเป็นกลไกลสำคัญในการพัฒนา

3. สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มต่างๆ

4. การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

1. พื้นที่ป่าไม้ถูกบุกรุกทำลายมาเป็นระยะเวลายาวนานจนกระทั่งเป็นพื้นที่โล่งเตียน

2. ปัญหาหมอกควันจากการเตรียมแปลงเกษตร

3. ขาดน้ำเพื่อทำการเพาะปลูกพืชต้องอาศัยน้ำฝนเป็นหลักในฤดูฝน

4. การขุดเจาะน้ำบาดาลไม่ได้ผลเพราะมีโพรงอากาศอยู่ใต้ดิน

5. ชาวบ้านในพื้นที่มีการถางป่าเพื่อทำไร่ ข้าวไร่  ข้าวโพด

6. มีการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชในการเพาะปลูกพืชเพิ่มมากขึ้น

7. เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินทำให้เกิดดินสไลด์คุณภาพดินลดลง

8. ไม่มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ป่าและพื้นที่การเกษตร

9. ขาดการฟื้นฟูป่า และการอนุรักษ์ป่า (ป่าต้นน้ำ ป่าชุมชน )

10. ขาดการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ

11. มีการเผาพื้นที่ก่อนการเพาะปลูกพืช

1. กำหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินความคุมการบุกรุกพื้นที่ป่าและปรับการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมตามหลักวิชาการ 6 แห่ง 6 ชุมชน

2. ปลูกและฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร และระบบนิเวศ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 6 ชุมชน 70 ไร่

3. อนุรักษ์ดินและน้ำ และฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินที่เสื่อมโทรม    5 ชุมชน 100 ไร่

4. ฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน และพืชท้องถิ่น 5 ชนิด 5 ชุมชน

5. การส่งเสริมการปลูกไม้ยืนต้นทดแทนป่าที่ถูกบุกรุกทำการเกษตร(50ราย/100ไร่)

6. ควบคุมการปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อม  6 แห่ง 6 ชุมชน

7. การจัดทำแนวกันไฟ (500ราย/50 กม.)

8. ส่งเสริมการปลูกป่าชาวบ้าน  เพื่อการอนุรักษ์และการใช้สอยในครัวเรือน (50ราย/50ไร่)

9. การจัดทำฝาย ( 50 จุด)

1. กำหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน

2. ปลูกและฟื้นฟูป่าต้นน้ำ และระบบนิเวศ

3. อนุรักษ์ดินและน้ำ และฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน

4. ฟื้นฟูแหล่งอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพ

5. ควบคุมการปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อม 

 

5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 

1. พื้นที่ส่วนใหญ่ขาดน้ำทั้งอุปโภคและบริโภค ในช่วงฤดูแล้ง (ธ.ค.-มิ.ย.) หน่วยงานร่วมบูรณาการที่จะมาร่วมพัฒนาแหล่งน้ำที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุปโภค บริโภค และการเกษตรของชุมชน

2. ทางเข้าพื้นที่การเกษตรขาดการพัฒนาและปรับปรุงซ่อมแซม

1. พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร 5 พื้นที่ 5 จุด

2. สนับสนุนการสร้างจุดกระจายน้ำขนาดเล็กในแปลงปลูกพืช 20 จุด 4 พื้นที่

1. สนับสนุนและประสานงานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิตทางการเกษตร
6. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ   

1. จัดทำแผนบูรณาการและมีการประชุมคณะทำงานในระดับจังหวัด 8 ครั้ง

1. ประสานงานการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานร่วมบูรณาการ

 

 

ที่มา : แผนกลยุทธ์รายศูนย์ (ปี2560)  , สำนักพัฒนา 



ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2560