ทรัพยากรดิน

กลุ่มชุดดิน 

    โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางแดงใน  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินกลุ่มชุดดินที่ 62 มากถึงร้อยละ 81.63  โดยหน่วยแผนที่ดินซึ่งเป็นกลุ่มดินกว้าง ๆ ดังนี้

   

 

แผนที่กลุ่มดิน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางแดงใน


คลิกเพื่อขยาย

 

หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


ทรัพยากรน้ำ

          แหล่งน้ำที่สำคัญของโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางแดงใน คือห้วยอีโก๋ เป็นห้วยสายหลักต้นกำเนิดมาจากภูเขาทางด้านทิศตะวันออก ลำห้วยมีทิศการไหลไปทางทิศตะวันตก โดยไหลไปรวมกับลำห้วยป่าไร่ก่อนผ่านบ้านปางแดงในแล้วไหลลงสู่ห้วยแม่เตาะและแม่น้ำปิงตามลำดับ  มีลำห้วยที่อยู่ข้างเคียงคือห้วยป่าเมี่ยง อยู่ทางทิศตะวันออก ห้วยแม่เตาะ อยู่ทางทิศเหนือ และห้วยปางดอกอยู่ทางทิศใต้ของพื้นที่โครงการแต่ปริมาณน้ำค่อนข้างน้อย และชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ ส่วนใหญ่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A คิดเป็นร้อยละ 52.51 รองลงมาเป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 4 ร้อยละ 19.97 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 2 ร้อยละ 14.19และ ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 3 ร้อยละ 13.34 ของพื้นที่ 

 

 

 

คลิกเพื่อขยาย

คลิกเพื่อขยาย

 

 

  

 

 

 

หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


พื้นที่ป่า

พื้นที่ป่าอนุรักษ์

            โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงปางแดงใน มีพื้นที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติศรีลานนา  26,905.24 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 73.17และอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 5,672.30 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.43 ของพื้นที่โครงการ 

ตาราง พื้นที่ป่าอนุรักษ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางแดงใน

พื้นที่ป่าอนุรักษ์

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

อุทยานแห่งชาติศรีลานนา

43.05

26,905.24

73.17

ป่าสงวนแห่งชาติป่าเชียงดาว

9.08

5,672.30

15.43

นอกเขตพื้นที่อนุรักษ์

6.71

4,191.75

11.40

รวม

58.83

36,769.29

100.00

 

การจำแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ

            โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงปางแดงใน มีการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน C) คิดเป็นร้อยละ 81.70 พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) ร้อยละ 17.60 

           

ตาราง การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ปางแดงใน

การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

พื้นที่เกษตรกรรม (โซน A)

-

-

-

พื้นที่อนุรักษ์ (โซน C)

48.06

30,039.64

81.70

พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E)

10.36

6,472.75

17.60

นอกขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ

0.41

256.90

0.70

รวม

58.83

36,769.29

100.00

 

 

 

คลิกเพื่อขยาย

คลิกเพื่อขยาย

 

 

 

 

หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

          โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงปางแดงใน สนับสนุนการปลูกป่าชาวบ้าน ได้แก่ ไม้ไผ่ ไม้ใช้สอย และไม้ท้องถิ่น สนับสนุนการปลูกหญ้าแฝก สนับสนุนการฟื้นฟูป่าชุมชนและปลูกเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำฝาย จัดกิจกรรมรณรงค์ลดใช้สารเคมีและลดการเผา สนับสนุนการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ และส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน

 

กิจกรรม

2555

2556

2557

2558

2559

รวม

1. งานอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยการปลูกหญ้าแฝก

   - รณรงค์

   - แปลงสาธิตในพื้นที่ทำกิน

 

1 ครั้ง 60 ราย

55,000 กล้า

 

1 ครั้ง 62 ราย

130,000 กล้า

 

-

90,000 กล้า

 

-

100,000 กล้า

 

-

50,000 กล้า

 

 

425,000 กล้า

2. งานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน

    - การผลิตปุ๋ยหมัก

 

10 ตัน

 

20 ตัน

 

20 ตัน

 

40 ตัน

 

40 ตัน

 

120 ตัน

3. งานฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร

  3.1 ป่ากลุ่มบ้าน/ป่าต้นน้ำ

    - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม

    - พื้นที่ปลูกใหม่

 3.2 โครงการป่าชาวบ้าน

    - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม

    - พื้นที่ปลูกใหม่

 

20ไร่

 

 

 5 ราย 600 ต้น

 

 

-

60 ไร่

 

10 ราย

500 ต้น

 

 

60 ไร่

-

 

15 ราย

3,000 ต้น

 

 

    60 ไร่

-

 

10 ราย

1,000 ต้น

 

 

60 ไร่

50 ไร่

 

30 ราย

2,500 ต้น

 

 

130 ไร่

 

65 ราย8,000 ต้น

4. รณรงค์ทำแนวป้องกันไฟป่า

4 กม. 94 ราย

5 กม. 100 ราย

12 กม.

30 กม.

30 กม.

81 กม.

5. กิจกรรมการรณรงค์เพื่อลดใช้สารเคมี

 

-

-

-

-

 

6. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็ก

-

1 แห่ง

1 กลุ่มบ้าน

1 แห่ง

1 กลุ่มบ้าน

1 แห่ง

1 กลุ่มบ้าน

1 แห่ง

1 กลุ่มบ้าน

4 แห่ง

4 กลุ่มบ้าน

7. การจัดทำฝาย

 

45 ฝาย

62 ฝาย

120 ฝาย

120 ฝาย

347 ฝาย

8. ลดการเผา

 

1 กลุ่มบ้าน

2 กลุ่มบ้าน

3 กลุ่มบ้าน

4 กลุ่มบ้าน

4 กลุ่มบ้าน

 

ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2560