ทรัพยากรดิน

กลุ่มชุดดิน 

         โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงป่าแป๋  พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินกลุ่มชุดดินที่ 62 มากถึงร้อยละ 98.96 กลุ่มชุดดินแบ่งเป็นกลุ่มดินกว้าง ๆ ดังนี้

       

 แผนที่กลุ่มชุดดิน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงป่าแป๋

 

คลิกเพื่อขยาย
 
หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


ทรัพยากรน้ำ

        โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงป่าแป๋  มีแหล่งน้ำผิวดินที่สำคัญในพื้นที่คือ  น้ำแม่เลา  น้ำแม่ริม  น้ำแม่เลย และห้วยปางฮาว   มีชั้นคุณภาพลุ่มน้ำโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงป่าแป๋ ส่วนใหญ่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A คิดเป็นร้อยละ 654.46 รองลงมาเป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 2 คิดเป็นร้อยละ 23.73 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1B คิดเป็นร้อยละ 8.44 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 3 คิดเป็นร้อยละ 3.11 และชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 4 คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของพื้นที่ 

 

 

 


คลิกเพื่อขยาย

คลิกเพื่อขยาย

 

 

หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


พื้นที่ป่า

พื้นที่ป่าอนุรักษ์

            โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงป่าแป๋ มีส่วนใหญ่พื้นที่อยู่ในเขตเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่เลา-แม่แสะ ร้อยละ 45.58 รองลงมาอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ร้อยละ 30.48 และอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง ร้อยละ 9.98 ดังนี้

 

ตาราง พื้นที่ป่าอนุรักษ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงป่าแป๋

พื้นที่ป่าอนุรักษ์

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

แม่เลา-แม่แสะ

179.13

111,957.64

45.58

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

สะเมิง

12.57

7,858.44

3.20

อุทยานแห่งชาติ

ดอยสุเทพ-ปุย

22.97

14,354.49

5.84

อุทยานแห่งชาติ

ห้วยน้ำดัง

39.22

24,513.52

9.98

ป่าสงวนแห่งชาติ

ป่าแม่แตง

119.81

74,878.13

30.48

ป่าสงวนแห่งชาติ

ป่าแม่ปายฝั่งซ้ายตอนบน

0.10

60.13

0.02

ป่าสงวนแห่งชาติ

ป่าสะเมิง

18.66

11,663.38

4.75

 

นอกเขตพื้นที่อนุรักษ์

0.59

368.24

0.15

 

รวม

393.05

245,653.97

100.00

 

การจำแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ

            โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงป่าแป๋ มีการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน C) คิดเป็นร้อยละ 97.34 พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) ร้อยละ 2.12 ดังนี้

 

ตาราง 13 การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ป่าแป๋

การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

พื้นที่เกษตรกรรม (โซน A)

-

-

-

พื้นที่อนุรักษ์ (โซน C)

382.60

239,126.80

97.34

พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E)

8.32

5,198.63

2.12

นอกขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ

2.13

1,328.53

0.54

รวม

393.05

245,653.97

100.00

 

 


คลิกเพื่อขยาย

คลิกเพื่อขยาย

 

หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

          สนับสนุนการปลูกป่าชาวบ้าน ได้แก่ ไผ่ ไม้ใช้สอย และไม้ท้องถิ่น สนับสนุนการปลูกหญ้าแฝก สนับสนุนการฟื้นฟูป่าชุมชนและปลูกเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำฝาย สนับสนุนการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ และส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน

 

กิจกรรมฟื้นฟูและพัฒนา

พ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

หน่วยนับ

ผู้เข้าร่วม

หน่วยนับ

ผู้เข้าร่วม

หน่วยนับ

ผู้เข้าร่วม

หน่วยนับ

ผู้เข้าร่วม

หน่วยนับ

ผู้เข้าร่วม

1. งานอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยการปลูกหญ้าแฝก

75,000 กล้า

50 ราย

30,000 กล้า

50 ราย

300,000 กล้า

50  ราย

50,000 กล้า

70 ราย

50,000 กล้า

76 ราย

2. งานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน

    - การผลิตปุ๋ยหมัก

    - ปุ๋ยพืชสด

    - ปุ๋ยน้ำชีวภาพ

 

1 หมู่บ้าน

7 ตัน

 

 

7 ราย

 

 

1 หมู่บ้าน

5 ตัน

 

 

5 ราย

 

 

1 หมู่บ้าน

5 ตัน

 

 

5 ราย

 

 

2 หมู่บ้าน

10 ตัน

 

14 ราย

 

 

2 หมู่บ้าน

10 ตัน

 

16 ราย

3. งานฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร

  3.1 ปลูกป่าชุมชน/ป่าต้นน้ำ (ไร่/ราย)

3.2 โครงการป่าชาวบ้าน  (ไร่/ต้น/ราย)

 

-

5 ไร่

500 ต้น

 

-

10 ราย

 

-

-

 

-

-

 

10 ไร่

-

 

100 ราย

10 ราย

 

10 ไร่

8 ไร่

800 ต้น

 

50 ราย

8 ราย

 

10 ไร่

10 ไร่

1,000 ต้น

 

100 ราย

10 ราย

4. รณรงค์ทำแนวป้องกันไฟป่า

20 กิโลเมตร

50   ราย

-

-

-

-

 32 กิโลเมตร

206  ราย

36 กิโลเมตร

213 ราย

5. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็ก

-

-

-

-

-

-

2 แห่ง

1 แห่ง

1 แห่ง

1 แห่ง

6. การจัดทำฝาย

20 แห่ง

1 พื้นที่

-

-

-

-

20 แห่ง

1 พื้นที่

 

 

 

 

 

ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2560