โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโรงการหลวงขุนสถาน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 62 คิดเป็นร้อยละ 95.8 เป็นดินลึกและตื้น ลักษณะดินและความอุดมสมบูรณ์แตกต่างกันตามแต่ชนิดของหินต้นกำเนิด มีเศษหินก้อนหินหรือหินพื้นโผล่ ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ต่างๆ มักมีการทำไร่เลื่อนลอยที่ขาดการอนุรักษ์ พื้นที่ส่วนใหญ่มีระดับการชะล้างพังทลายของดินระดับปานกลางรุนแรงมากสำหรับพื้นที่สูง คิดเป็นร้อยละ 75.2 ลักษณะทางธรณีวิทยาส่วนใหญ่เป็นหินทราย หินทรายแป้ง หินดินดาน
แผนที่กลุ่มดิน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงขุนสถาน
หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/
ที่มา : สำนักพัฒนา , สำนักยุทธศาสตร์และแผน
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงขุนสถาน มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในชั้นคุณภาพน้ำในพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A พื้นที่ยังคงสภาพป่าสมบูรณ์ที่ปรากฏอยู่ในปี พ.ศ. 2525 ซึ่งจำเป็นจะต้องสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร และ เป็นทรัพยากรป่าไม้ของประเทศ คิดเป็นร้อยละ 65.6 ครอบคุลมพื้นที่ทั้งหมด 46,129.89 ไร่ และมีแหล่งน้ำผิวดินที่สำคัญในพื้นที่ ได้แก่ ห้วยตลุบคุบ ห้วยส้ม ห้วยน้ำหลม ห้วยน้ำหิน และห้วยผา ซึ่งมีพื้นที่อยู่ในลุ่มน้ำสาขาลุ่มน้ำแหง ลุ่มน้ำหลักลุ่มน้ำน่าน แบ่งเป็นลุ่มน้ำแหง 6 ร้อยละ 82.8 และลุ่มน้ำหิน 8 ร้อยละ 17.2
คลิกเพื่อขยาย
|
คลิกเพื่อขยาย
|
หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/
ที่มา : สำนักพัฒนา , สำนักยุทธศาสตร์และแผน
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงขุนสถานมีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าฝั่งขวาแม่น้ำน่านตอนใต้ พื้นที่จำนวน 62,249.01 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 88.56 (ดังตารางที่ 1) และมีการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติอยู่ในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน C) คิดเป็นร้อยละ 96.85 ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 68,080.53 ไร่ และพื้นที่เกษตรกรรม (โซน A) ร้อยละ 0.89 ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 624.39 ไร่ (ดังตารางที่ 2)
ตารางที่ 1 พื้นที่ป่าอนุรักษ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ขุนสถาน
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||
ป่าสงวนแห่งชาติป่าฝั่งขวาแม่น้ำน่านตอนใต้ |
99.60 |
62,249.01 |
88.56 |
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี |
0.12 |
72.59 |
0.10 |
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่เติ๊ก, ป่าแม่ถาง, ป่าแม่กำปอง |
0.09 |
56.58 |
0.08 |
พื้นที่เตรียมการฯอุทยานแห่งชาติขุนสถาน |
10.52 |
6,572.88 |
9.35 |
นอกเขตพื้นที่อนุรักษ์ |
2.15 |
1,340.79 |
1.91 |
รวม |
112.47 |
70,291.85 |
100.00 |
การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||
พื้นที่เกษตรกรรม (โซน A) |
1.00 |
624.39 |
0.89 |
พื้นที่อนุรักษ์ (โซน C) |
108.93 |
68,080.53 |
96.85 |
พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) |
0.71 |
446.43 |
0.64 |
นอกขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ |
1.82 |
1,140.50 |
1.62 |
รวม |
112.47 |
70,291.85 |
100.00 |
|
|
หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/
ที่มา : สำนักพัฒนา , สำนักยุทธศาสตร์และแผน
มีแนวทางการพัฒนาอาชีพควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้มีการส่งเสริมการปลูกไม้ผลยืนต้นเพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าโดยการปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม รณรงค์การปลูกป่าและหญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ำ รณรงค์ลดใช้สารเคมีและการคัดกรองโลหิต การเก็บตัวอย่างดินและน้ำไปวิเคราะห์ ส่งเสริมการทำปุ๋ยหมัก การจัดทำขอบเขตที่ดินรายแปลงและปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมตามสภาพพื้นที่
กิจกรรมฟื้นฟูและพัฒนา |
พ.ศ. 2555 |
พ.ศ. 2556 |
พ.ศ. 2557 |
พ.ศ. 2558 |
พ.ศ. 2559 |
|||||
หน่วยนับ |
จำนวน |
หน่วยนับ |
จำนวน |
หน่วยนับ |
จำนวน |
หน่วยนับ |
จำนวน |
หน่วยนับ |
จำนวน |
|
1. งานอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยการปลูกหญ้าแฝก |
กล้า |
11,000 |
กล้า |
15,000 |
กล้า |
50,000 |
กล้า |
40,000 |
กล้า |
50,000 |
2. งานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน - การผลิตปุ๋ยหมัก |
ตัน |
10 |
ตัน |
15 |
ตัน |
15 |
ตัน |
15 |
ตัน |
15 |
3. งานฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร 3.1 ป่าชุมชน/ป่าต้นน้ำ - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม - พื้นที่ปลูกใหม่ 3.2 โครงการป่าชาวบ้าน - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม - พื้นที่ปลูกใหม่ |
ไร่ ต้น
ไร่ |
500 1,800
13 |
ไร่ ต้น
ไร่ ไร่ |
500 1,000
13 14 |
ไร่ ต้น
ไร่ ไร่ |
500 1,500
27 10 |
ไร่ ต้น
ไร่ ไร่ |
500 3,000
37 30 |
ไร่ ต้น
ไร่ ไร่ |
500 5,950
67 25 |
4. กิจกรรมการรณรงค์เพื่อลดใช้สารเคมี เกษตรกรได้รับการอบรม |
|
|
ราย |
97 |
ราย |
100 |
ราย |
115 |
ราย |
120 |
5. การก่อสร้างฝายขนาดเล็กเพื่อรักษาความชุ่มชื้นของผืนป่า |
แห่ง |
2 |
แห่ง |
5 |
แห่ง |
2 |
แห่ง |
7 |
แห่ง |
5 |
6. การพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก |
|
|
|
|
|
|
แห่ง |
1 |
แห่ง |
12 |
ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2561