โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางมะโอ มีหน่วยแผนที่ดินเป็นกลุ่มดินที่ 62 ทั้งหมดซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาที่มีความลาดชันมากกว่า 35 % เป็นดินลึกและตื้น ลักษณะดินและความอุดมสมบูรณ์แตกต่างกันตามแต่ชนิดของหินต้นกำเนิด มีเศษหินก้อนหินหรือหินพื้นโผล่ ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ต่างๆ มักมีการทำไร่เลื่อนลอยที่ขาดการอนุรักษ์ มีระดับการชะล้างพังทลายของดินในระดับน้อยมากสำหรับพื้นที่สูง คิดเป็นร้อยละ 47.28 รองลงมามีระดับการชะล้างพังทลายในระดับรุนแรงน้อยสำหรับพื้นที่สูง คิดเป็นร้อยละ 29.16 และระดับการชะล้างพังทลายระดับรุนแรงมากสำหรับพื้นที่สูง คิดเป็นร้อยละ 26.46
ตาราง การชะล้างพังทลายของดิน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ปางมะโอ
รหัส |
ระดับการชะล้างพังทลายของดิน |
อัตราการสูญเสียดิน |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||||
1 |
ที่ราบการชะล้างพังทลายดินน้อยมาก |
0-2 ตัน/ตร.กม./ปี |
- |
- |
- |
2 |
ที่ราบการชะล้างพังทลายดินน้อย |
2-5 ตัน/ตร.กม./ปี |
- |
- |
- |
3 |
ที่ราบการชะล้างพังทลายดินปานกลาง |
5-15 ตัน/ตร.กม./ปี |
- |
- |
- |
4 |
ที่ราบการชะล้างพังทลายดินรุนแรง |
15-20 ตัน/ตร.กม./ปี |
- |
- |
- |
5 |
ที่ราบการชะล้างพังทลายดินรุนแรงมาก |
>20 ตัน/ตร.กม./ปี |
- |
- |
- |
H1 |
ที่สูงการชะล้างพังทลายดินน้อยมาก |
0-2 ตัน/ตร.กม./ปี |
27.81 |
17,383.87 |
47.28 |
H2 |
ที่สูงการชะล้างพังทลายดินน้อย |
2-5 ตัน/ตร.กม./ปี |
17.16 |
10,723.08 |
29.16 |
H3 |
ที่สูงการชะล้างพังทลายดินปานกลาง |
5-15 ตัน/ตร.กม./ปี |
4.38 |
2,734.69 |
7.44 |
H4 |
ที่สูงการชะล้างพังทลายดินรุนแรง |
15-20 ตัน/ตร.กม./ปี |
4.01 |
2,507.48 |
6.82 |
H5 |
ที่สูงการชะล้างพังทลายดินรุนแรงมาก |
>20 ตัน/ตร.กม./ปี |
15.57 |
9,730.91 |
26.46 |
รวม |
68.93 |
43,080.03 |
100.00 |
คลิกเพื่อขยาย |
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางมะโอ มีแหล่งน้ำที่สำคัญในพื้นที่คือ ห้วยแม่ซ้าย ห้วยขุนแม่แมะ ห้วยแก่งปันเต๊า ห้วยแม่ทะลาย มีชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ ส่วนใหญ่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A คิดเป็นร้อยละ 66.70 รองลงมาเป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 2 คิดเป็นร้อยละ 25.71 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 3 คิดเป็นร้อยละ 3.58 ของพื้นที่
คลิกเพื่อขยาย |
คลิกเพื่อขยาย |
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงมีพื้นที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติป่าสงวนแห่งชาติป่าเชียงดาว 21,668.88 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 50.30 อยู่ในป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แตง 21,057.63 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 48.88 เป็นอุทยานแห่งชาติศรีลานนา 49.37 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.11 และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว 36.10 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.08 ของพื้นที่โครงการ
ตาราง พื้นที่ป่าอนุรักษ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ปางมะโอ
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว |
0.06 |
36.10 |
0.08 |
อุทยานแห่งชาติศรีลานนา |
0.08 |
49.37 |
0.11 |
ป่าสงวนแห่งชาติป่าเชียงดาว |
34.67 |
21,668.88 |
50.30 |
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แตง |
33.69 |
21,057.63 |
48.88 |
พื้นที่นอกเขตอนุรักษ์ |
0.43 |
268.06 |
0.62 |
รวม |
68.93 |
43,080.03 |
100.00 |
การจำแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวง มีการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน C) คิดเป็นร้อยละ 98.60 พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) ร้อยละ 1.04 ดังตาราง 11
การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||
พื้นที่เกษตรกรรม (โซน A) |
- |
- |
- |
พื้นที่อนุรักษ์ (โซน C) |
67.96 |
42,477.59 |
98.60 |
พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) |
0.72 |
447.53 |
1.04 |
นอกขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ |
0.25 |
154.91 |
0.36 |
รวม |
68.93 |
43,080.03 |
100.00 |
คลิกเพื่อขยาย |
คลิกเพื่อขยาย |
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
ส่งเสริมให้ชุมชนใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างถูกต้อง และประกอบอาชีพโดยวิธีการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และร่วมกันอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ โดยจัดทำขอบเขตที่ดินรายแปลงของเกษตรกร ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง 1 ชุมชน พื้นที่ 1,346.15 ไร่ และทำการปรับเปลี่ยนการปลูกพืชให้เหมาะสม และสนับสนุนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยปลูกป่าฟื้นฟูระบบนิเวศต้นน้ำ ป่าเปียก ป่าพื้นบ้านอาหารชุมชน และป่าแนวเขตกันชนในรูปแบบการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง พื้นที่ 30 ไร่ ปลูกป่าชาวบ้านในพระบรมราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 4,000 ต้น พื้นที่ 25 ไร่ เกษตรกร 12 ราย รณรงค์การปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายและพื้นที่ เกษตรกร 180 ราย จำนวน 62,000 กล้า พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กสำหรับการเกษตรและการอุปโภคบริโภคจำนวน 1 แห่ง จัดทำแนวกันไฟความยาวรวม 54 กิโลเมตร และกิจกรรมอื่นๆ เช่น การเฝ้าระวังรักษาป่า บวชป่า การขยายพันธุ์พืชท้องถิ่น จัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ และพัฒนาหมู่บ้านสะอาด ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยส่งเสริมการทำปุ๋ยหมัก จำนวน 70 ตัน และตรวจวิเคราะห์คุณภาพดินและน้ำในพื้นที่ รณรงค์ลดการใช้สารเคมี โดยให้ความรู้ในการใช้สารเคมีเกษตรที่ถูกต้อง และเฝ้าระวังผลกระทบของสารเคมีโดยตรวจปริมาณสารพิษ ในเลือดของเกษตรกร 47 ราย ซึ่งพบว่าอยู่ในระดับปลอดภัยร้อยละ 4.25 ระดับเสี่ยงร้อยละ 29.78 และระดับไม่ปลอดภัยร้อยละ 63.82
กิจกรรมฟื้นฟูและพัฒนา |
พ.ศ. 2555 |
พ.ศ. 2556 |
พ.ศ. 2557 |
พ.ศ. 2558 |
พ.ศ. 2559 |
รวม |
หน่วยนับ |
หน่วยนับ |
หน่วยนับ |
หน่วยนับ |
หน่วยนับ |
||
|
|
|
1 หมู่บ้าน/ 148 แปลง/ 80 ราย/1,346.15 ไร่ |
|
|
1 หมู่บ้าน/148 แปลง/ 80 ราย/1,346.15 ไร่ |
- กิจกรรมรณรงค์
- แปลงสาธิต |
10,000 กล้า/50 คน
- |
- -
20,000 กล้า/5 คน |
10,000 กล้า/50 คน
- - |
30,000 กล้า/50 คน
- - |
12,000 กล้า/30 คน
- - |
62,000 กล้า/180 คน
20,000 กล้า/5 คน |
2. งานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน - การผลิตปุ๋ยหมัก |
20 ตัน/13 คน
|
10 ตัน/10 คน |
20 ตัน/15 คน |
10 ตัน/10 คน |
10 ตัน/10 คน |
70 ตัน/58 คน |
3. งานฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร 3.1 ป่าชุมชน/ป่าต้นน้ำ (Food bank)
3.2 โครงการป่าชาวบ้าน (ต้น/ไร่/ราย) |
-
- |
-
- |
20 ไร่/40 คน 2,000 ต้น/ 10 ไร่/5 คน |
10ไร่/24 คน
- |
- 2,000 ต้น/ 15 ไร่/7 คน |
30 ไร่/44 คน 4,000 ต้น/ 25 ไร่/12 คน |
4. รณรงค์ทำแนวป้องกันไฟป่า (กม.)
|
7 กม./80 คน |
7 กม./90 คน |
12 กม./150 คน |
12 กม./150 คน |
16 กม./50 คน |
54 กม./ 520 คน |
5. กิจกรรมการรณรงค์เพื่อลดใช้สารเคมี - เกษตรกรได้รับการอบรม |
- |
- |
- |
- |
1ครั้ง/15 คน |
1 ครั้ง/15 คน |
6. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็ก (แห่ง/บ้าน) |
- |
- |
- |
1 แห่ง/1 หมู่บ้าน |
- |
1 แห่ง /1 หมู่บ้าน |
7. กิจกรรมจัดทำฝายชะลอน้ำ (แห่ง) |
11 ลูก/50 คน |
20 ลูก/50 คน |
25 ลูก/70 คน |
30 ลูก/100 คน |
20 ลูก/30 คน |
106 ลูก/300 คน |
ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2561