โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโรงการหลวงสบเมย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินกลุ่มชุดดินที่ 62 มากถึงร้อยละ 98.6 เป็นพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาที่มีความลาดชันมากกว่า 35 % เป็นดินลึกและตื้น ลักษณะดินและความอุดมสมบูรณ์แตกต่างกันตามแต่ชนิดของหินต้นกำเนิด มีเศษหินก้อนหินหรือหินพื้นโผล่ ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ต่างๆ มักมีการทำไร่เลื่อนลอยที่ขาดการอนุรักษ์ รองลงมาอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 35C กลุ่มชุดดินที่ 33B กลุ่มชุดดินที่ 35B และกลุ่มชุดดินที่ 29B ตามลำดับ และพื้นที่ส่วนใหญ่ มีระดับการชะล้างพังทลายของดินในระดับน้อยสำหรับพื้นที่สูง ร้อยละ 93.28 ลักษณะทางธรณีวิทยาส่วนใหญ่เป็นหินปูน หินปูนเนื้อดิน สีเทาดำ เนื้อแน่น แข็ง มีซากดึกดำบรรพ์มากมาย
แผนที่กลุ่มดิน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบโขงมีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A พื้นที่ยังคงสภาพป่าสมบูรณ์ที่ปรากฏอยู่ในปี พ.ศ. 2525 ซึ่งจำเป็นจะต้องสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร และ เป็นทรัพยากรป่าไม้ของประเทศ คิดเป็นร้อยละ 78.6 รองลงมาเป็นชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1B พื้นที่ที่สภาพป่าส่วนใหญ่ได้ถูกทำลาย ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาหรือการใช้ที่ดินรูปแบบอื่น คิดเป็นร้อยละ 10.6รองลงมาอยู่ในชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 2 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 3 และชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 4 ตามลำดับ
อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำหลักลุ่มน้ำสาละวิน ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยวมตอนล่าง และลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำสาละวินตอนบน มีแหล่งน้ำผิวดินที่สำคัญในพื้นที่ ได้แก่ แม่น้ำยวม ห้วยแม่ลามาหลวง และห้วยแม่ปัว
คลิกเพื่อขยาย |
คลิกเพื่อขยาย |
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ 97,079.60 ไร่ (ร้อยละ 85.79) และพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตวนอุทยาน 16,080.89 ไร่ (ร้อยละ 14.21) ดังตารางที่ 1 และมีการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (โซน C) คิดเป็นร้อยละ 92.66 พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) ร้อยละ 7.21 ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 1 พื้นที่ป่าอนุรักษ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง สบเมย
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||
วนอุทยาน |
25.73 |
16,080.89 |
14.21 |
น้ำตกกลอโค๊ะ |
10.38 |
6,489.68 |
5.73 |
น้ำตกห้วยแม่แสด |
15.32 |
9,572.47 |
8.46 |
ไม้สักใหญ่ |
0.03 |
18.75 |
0.02 |
ป่าสงวนแห่งชาติ |
155.33 |
97,079.60 |
85.79 |
ป่าท่าสองยาง |
3.96 |
2,474.72 |
2.19 |
ป่าแม่ยวมฝั่งขวา |
137.25 |
85,782.06 |
75.80 |
ป่าสาละวิน(ป่าซาลวิน) |
14.12 |
8,822.81 |
7.80 |
รวม |
181.07 |
113,165.69 |
100.00 |
ตารางที่ 2 การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง สบเมย
การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||
พื้นที่เกษตรกรรม (โซน A) |
- |
- |
- |
พื้นที่อนุรักษ์ (โซน C) |
167.77 |
104,856.87 |
92.66 |
พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) |
13.05 |
8,154.39 |
7.21 |
นอกขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ |
0.25 |
154.43 |
0.14 |
รวม |
181.07 |
113,165.69 |
100.00 |
|
|
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
มุ่งเน้นการนำข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินรายแปลงที่ ข้อมูลและแผนชุมชน มาวิเคราะห์และวางแผนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ของสถาบัน อันได้แก่ ด้านพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการพัฒนาส่งเสริมอาชีพ ด้านการผลิตและการตลาด และการฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อให้ชุมชนบนพื้นที่สูงมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นสังคมที่มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้ ทั้งยังเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนบนพื้นที่สูง และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูง สร้างจิตสำนึก และความตระหนักถึงคุณค่า หวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
กิจกรรมฟื้นฟูและพัฒนา |
พ.ศ. 2555 |
พ.ศ. 2556 |
พ.ศ. 2557 |
พ.ศ. 2558 |
พ.ศ. 2559 |
|||||
หน่วยนับ |
ผู้เข้าร่วม |
หน่วยนับ |
ผู้เข้าร่วม |
หน่วยนับ |
ผู้เข้าร่วม |
หน่วยนับ |
ผู้เข้าร่วม |
หน่วยนับ |
ผู้เข้าร่วม |
|
1. งานอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยการปลูกหญ้าแฝก |
60,000 กล้า |
114 คน |
60,000 กล้า |
314 คน |
80,000 กล้า |
159 คน |
55,000 กล้า |
265 คน |
80,000 กล้า |
220 คน |
2. งานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน - การผลิตปุ๋ยหมัก - ปุ๋ยพืชสด |
4 ตัน 2 บ้าน |
4 คน 10คน |
7 ตัน 2 บ้าน |
6คน 5คน |
10 ตัน - |
10คน - |
8 ตัน - |
18 คน - |
14 ตัน - |
34 คน - |
3. งานฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร 3.1 ป่าชุมชน/ป่าต้นน้ำ - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม 3.2 โครงการป่าชาวบ้าน - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม - พื้นที่ปลูกใหม่ |
- 1 บ้าน 210 ไร่ |
- 500 ต้น 114 คน 114 คน 28 คน |
-
- 1 บ้าน |
- - 30 ไร่ 4 คน |
1 บ้าน
-
- |
10 ไร่ 116 คน -
- |
1 บ้าน
-
- |
70 ไร่ 49 คน -
- |
-
-
3 บ้าน 7 ราย |
-
-
40 ไร่ |
4. รณรงค์ทำแนวป้องกันไฟป่า |
10 กม. |
49คน |
10 กม. |
51คน |
7 กม. |
43คน |
10 กม. |
49 คน |
12 กม. |
38 ราย |
5. กิจกรรมการรณรงค์เพื่อลดใช้สารเคมี เกษตรกรได้รับการอบรม |
- |
- |
ราย |
100 |
- |
- |
ราย |
100 |
ราย |
100 |
6. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็ก |
- |
- |
- |
- |
1 แห่ง |
1 บ้าน |
1 แห่ง |
1 บ้าน |
1 แห่ง |
1 บ้าน |
7. การจัดทำฝายชะลอน้ำ |
- |
- |
- |
- |
11 ฝาย |
72คน |
20 ฝาย |
180คน |
8 ฝาย |
48 คน |
ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2561