ทรัพยากรดิน

กลุ่มชุดดิน 

          โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงป่ากล้วย มีหน่วยแผนที่ดินซึ่งเป็นกลุ่มดินกว้าง ๆ โดยกลุ่มชุดดินที่พบมากที่สุดคือ กลุ่มชุดดินที่ 62 คิดเป็นร้อยละ 96 ของกลุ่มชุดดินทั้งหมด โดยเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินร่วนเหนียวป่นทราย คุณภาพของดินและการใช้ประโยชน์มีปัญหาดินมีลักษณะเป็น ดินมีกรวดทราย ดินดาด ดินเค็ม และในบางพื้นที่ก็มีปัญหาดินเปรี้ยว และมีระดับการชะล้างพังทลายของดินในระดับปานกลางสำหรับพื้นที่สูง

 


 

แผนที่กลุ่มดินโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงป่ากล้วย

 

คลิกเพื่อขยาย

 

 
 
หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


ทรัพยากรน้ำ

          โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงป่ากล้วย มีแหล่งน้ำที่สำคัญในพื้นที่มีดังนี้  ห้วยสบเตี๊ยะ ห้วยปะลิง น้ำแม่สอย ห้วยแม่ทิม  น้ำแม่ป๊อก มีชั้นคุณภาพลุ่มน้ำส่วนใหญ่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A คิดเป็นร้อยละ 48.98 รองลงมาเป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 2  คิดเป็นร้อยละ 41.65 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1B คิดเป็นร้อยละ 7.48 ของพื้นที่

 

คลิกเพื่อขยาย

คลิกเพื่อขยาย
 
หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


พื้นที่ป่า

พื้นที่ป่าอนุรักษ์

            โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงมีพื้นที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติออบหลวง 40,677.34 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 81.14 อยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าจอมทอง 8,907.94ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.77 ของพื้นที่โครงการ 

 

ตาราง  พื้นที่ป่าอนุรักษ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ป่ากล้วย

พื้นที่ป่าอนุรักษ์

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

อุทยานแห่งชาติออบหลวง

65.08

40,677.34

81.14

ป่าสงวนแห่งชาติป่าจอมทอง

14.25

8,907.94

17.77

พื้นที่นอกเขตอนุรักษ์

0.87

544.73

1.09

รวม

80.21

50,130.00

100.00

 

การจำแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ

            โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวง มีการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน C) คิดเป็นร้อยละ  97.86 พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ  (โซน E) ร้อยละ 0.13 

 

ตาราง การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ป่ากล้วย

การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

พื้นที่เกษตรกรรม (โซน A)

-

-

-

พื้นที่อนุรักษ์ (โซน C)

78.49

49,059.12

97.86

พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E)

0.10

64.46

0.13

นอกขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ

1.61

1,006.42

2.01

รวม

80.21

50,130.00

100.00

 

 
 

คลิกเพื่อขยาย

คลิกเพื่อขยาย
 
หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

          สนับสนุนการปลูกป่าชาวบ้าน ได้แก่ ไม้โตเร็ว ไม้ใช้สอย และไม้ท้องถิ่น สนับสนุนการปลูกหญ้าแฝก สนับสนุนการฟื้นฟูป่าชุมชนและปลูกเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำฝาย ทำแนวกันไฟ จัดกิจกรรมรณรงค์ลดใช้สารเคมี  สนับสนุนการทำปุ๋ยหมัก และส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน

กิจกรรม

2555

2556

2557

2558

2559

รวม

1. งานอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยการปลูกหญ้าแฝก (ราย/ กล้า)

   - รณรงค์

   - แปลงสาธิตในพื้นที่ทำกิน

 

20,000 กล้า

 

-

 

20,000 กล้า

 

30,000 กล้า

 

-

 

70,000 กล้า

2. งานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน

    - การผลิตปุ๋ยหมัก

    - ปุ๋ยพืชสด

    - ปุ๋ยน้ำชีวภาพ

2 ตัน

 

 

5 ตัน

4 ต้น

 

2 ต้น

-

13 ต้น

3. งานฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร

  3.1 ป่าชุมชน/ป่าต้นน้ำ (ไร่/ ราย/ต้น)

    - พื้นที่ปลูกใหม่

 

 

3.2 โครงการปลูกป่าชาวบ้าน (ไร่/ ต้น/ ราย)100 ต้น/ ไร่

    - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม

    - พื้นที่ปลูกใหม่

 

 

 

 

1 ครั้ง

4,000 ต้น  40 ไร่

 

 

 

 

 

 

1 ครั้ง    500 ต้น  5 ไร่

 

 

 

 

 

1 ครั้ง 1,000 ต้น

10 ไร่

 

 

 

 

 

1 ครั้ง

2,400 ต้น

24 ไร่

5 ไร่ 5 ราย 500 ต้น

 

 

1 ครั้ง

3650 ต้น

36.5 ไร่

5 ไร่ 5 ราย 500 ต้น

 

 

5 ครั้ง

11,550 ต้น

115.5 ไร่

10 ไร่ 10 ราย 1,000 ต้น

4. กิจกรรมรณรงค์ทำแนวกันไฟ

1 ครั้ง 15กิโลเมตร

1 ครั้ง 9 กิโลเมตร

1 ครั้ง 15 กิโลเมตร

1 ครั้ง 15 กิโลเมตร

1 ครั้ง 15 กิโลเมตร

5 ครั้ง 69 กิโลเมตร

5. กิจกรรมการรณรงค์เพื่อลดใช้สารเคมี

   เกษตรกรได้รับการอบรม (หมู่บ้าน/ ครั้ง/ ราย)

1 ครั้ง  100 ราย

1 ครั้ง 100 ราย

1 ครั้ง 100 ราย

1 ครั้ง 100 ราย

1 ครั้ง  109 ราย

5 ครั้ง 509ราย

6. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็ก (แห่ง/ บ้าน)

 

 

1 แห่ง

 

 

 

7. การจัดทำฝาย (ฝายกึ่งถาวร)

 

 

2 ลูก

 

 

 

 

ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2561