โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงโหล่งขอด มีหน่วยแผนที่ดินซึ่งเป็นกลุ่มดินกว้าง ๆ โดยกลุ่มชุดดินที่พบมากที่สุดคือ กลุ่มชุดดินที่ 62 คิดเป็นร้อยละ 99 ของกลุ่มชุดดินทั้งหมด โดยเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินร่วนเหนียวป่นทราย คุณภาพของดินและการใช้ประโยชน์มีปัญหาดินมีลักษณะเป็น ดินมีกรวดทราย ดินดาด ดินเค็ม และในบางพื้นที่ก็มีปัญหาดินเปรี้ยว และมีระดับการชะล้างพังทลายของดินในระดับปานกลางสำหรับพื้นที่สูง
คลิกเพื่อขยาย |
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
แหล่งน้ำผิวดิน
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงโหล่งขอด มีแหล่งน้ำที่สำคัญในพื้นที่ คือ ห้วยแม่สาย และห้วยแม่ขอด มีชั้นคุณภาพลุ่มน้ำส่วนใหญ่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A คิดเป็นร้อยละ 77.5 รองลงมาเป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 2 คิดเป็นร้อยละ 14.9 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 3 คิดเป็นร้อยละ 6.5 ของพื้นที่
คลิกเพื่อขยาย |
คลิกเพื่อขยาย |
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
พื้นที่ป่าอนุรักษ์
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงมีพื้นที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติศรีลานนา 90.31 ตารางกิโลเมตร หรือ 56,442.05 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 99.83 ของพื้นที่
ตาราง พื้นที่ป่าอนุรักษ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง โหล่งขอด
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||
อุทยานแห่งชาติศรีลานา |
90.31 |
56,442.05 |
99.83 |
พื้นที่นอกเขตอนุรักษ์ |
0.16 |
98.12 |
0.17 |
รวม |
90.46 |
56,540.20 |
100.00 |
การจำแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวง มีการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน C) คิดเป็นร้อยละ 99.91
ตาราง การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง โหล่งขอด
การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ |
พื้นที่ |
ร้อยละ |
|
ตารางกิโลเมตร |
ไร่ |
||
พื้นที่เกษตรกรรม (โซน A) |
- |
- |
- |
พื้นที่อนุรักษ์ (โซน C) |
90.39 |
56,491.37 |
99.91 |
พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E) |
- |
- |
- |
นอกขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ |
0.08 |
48.83 |
0.09 |
รวม |
90.46 |
56,540.20 |
100.00 |
คลิกเพื่อขยาย |
คลิกเพื่อขยาย |
ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน
สนับสนุนการปลูกป่าชาวบ้าน ได้แก่ ไผ่ ไม้ใช้สอย และไม้ท้องถิ่น สนับสนุนการปลูกหญ้าแฝก สนับสนุนการฟื้นฟูป่าชุมชนและปลูกเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำฝาย จัดกิจกรรมรณรงค์ลดใช้สารเคมีและลดการเผา สนับสนุนการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ และส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน
กิจกรรม |
2555 |
2556 |
2557 |
2558 |
2559 |
รวม |
1. งานอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยการปลูกหญ้าแฝก(ราย/กล้า) |
5 ราย/60,000 กล้า |
5 ราย/60,000 กล้า |
5 ราย/60,000 กล้า |
12 ราย/50,000กล้า |
25 ราย/50,000กล้า |
52 ราย/280,000กล้า |
2. งานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน - การผลิตปุ๋ยหมัก - ปุ๋ยพืชสด - ปุ๋ยน้ำชีวภาพ |
1 หมู่บ้าน/ 8 ตัน/15 ราย
|
1 หมู่บ้าน/ 8 ตัน/15 ราย
|
1 หมู่บ้าน/ 10 ตัน/20 ราย
|
1 หมู่บ้าน/ 2 ตัน/2 ราย
|
2 หมู่บ้าน/ 30 ตัน/35 ราย |
2 หมู่บ้าน/ 58 ตัน/67 ราย |
3. งานฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร 3.1 ป่าชุมชน/ป่าต้นน้ำ(ไร่/ราย)
3.2 โครงการป่าชาวบ้าน(ไร่/ต้น/ราย) 100ต้น/ไร่ |
10 ไร่/100 ราย
15 ไร่/1,500ต้น/15 ราย |
10 ไร่/100 ราย 10 ไร่/1,000ต้น/10 ราย |
5 ไร่/50 ราย
10 ไร่/1,000ต้น/10 ราย |
5 ไร่/50ราย
8 ไร่/800ต้น/8 ราย |
5 ไร่/50ราย
40 ไร่/3,950ต้น/25 ราย |
35 ไร่/350ราย 83 ไร่/8,250ต้น/68 ราย
|
4. รณรงค์ทำแนวป้องกันไฟป่า(กม.)ไม่นับซ้ำ/นับพื้นที่ใหม่ |
28 กิโลเมตร |
28 กิโลเมตร |
12 กิโลเมตร |
25 กิโลเมตร |
15 กิโลเมตร |
108 กิโลเมตร |
5. กิจกรรมการรณรงค์เพื่อลดใช้สารเคมี เกษตรกรได้รับการอบรม (หมู่บ้าน/ครั้ง/ราย) |
1กลุ่มบ้าน/1ครั้ง/50คน |
1กลุ่มบ้าน/1ครั้ง/50คน |
1กลุ่มบ้าน/1ครั้ง/50คน |
1กลุ่มบ้าน/1ครั้ง/55คน |
1กลุ่มบ้าน/1ครั้ง/70คน |
1หมู่บ้าน/5ครั้ง/275คน |
6. กิจกรรมการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ(ปลูกหญ้าแฝก) |
1กลุ่มบ้าน/50,000กล้า |
1กลุ่มบ้าน/50,000กล้า |
1กลุ่มบ้าน/100,000กล้า |
1กลุ่มบ้าน/100,000กล้า |
1กลุ่มบ้าน/160,000กล้า |
1กลุ่มบ้าน/460,000กล้า |
7. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็ก (แห่ง/บ้าน) |
- |
- |
- |
2 แห่ง/2 หมู่บ้าน |
- |
2 แห่ง/2 หมู่บ้าน |
8. การจัดทำฝาย (ฝาย) |
164ลูก |
10 ลูก |
10 ลูก |
99 ลูก |
48 ลูก |
331 ลูก |
9. ลดการเผา (กี่หมู่บ้านกี่ชุมชน) |
1 พื้นที่ |
1 พื้นที่ |
1 พื้นที่ |
1 พื้นที่ |
1 พื้นที่ |
1 พื้นที่ |
ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2561