ทรัพยากรดิน

การชะล้างพังทลายของดิน

          โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงแม่สอง ส่วนใหญ่มีมีระดับการชะล้างพังทลายในระดับปานกลางสำหรับพื้นที่สูง ร้อยละ 65.77 รองลงมามีระดับการชะล้างพังทลายในระดับน้อยสำหรับพื้นที่สูง คิดเป็นร้อยละ 24.94 และมีระดับการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อยสำหรับพื้นที่ราบ ร้อยละ 6.31 ดังตาราง

ตาราง การชะล้างพังทลายของดิน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง แม่สอง

รหัส

ระดับการชะล้างพังทลายของดิน

อัตราการสูญเสียดิน

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

1

ที่ราบการชะล้างพังทลายดินน้อยมาก

 0-2 ตัน/ตร.กม./ปี

7.13

4,458.50

1.07

2

ที่ราบการชะล้างพังทลายดินน้อย

 2-5 ตัน/ตร.กม./ปี

42.04

26,276.83

6.31

3

ที่ราบการชะล้างพังทลายดินปานกลาง

 5-15 ตัน/ตร.กม./ปี

1.13

704.42

0.17

4

ที่ราบการชะล้างพังทลายดินรุนแรง

 15-20 ตัน/ตร.กม./ปี

4.73

2,956.89

0.71

5

ที่ราบการชะล้างพังทลายดินรุนแรงมาก

>20 ตัน/ตร.กม./ปี

-

-

-

H1

ที่สูงการชะล้างพังทลายดินน้อยมาก

 0-2 ตัน/ตร.กม./ปี

1.36

847.34

0.20

H2

ที่สูงการชะล้างพังทลายดินน้อย

 2-5 ตัน/ตร.กม./ปี

166.06

103,789.80

24.94

H3

ที่สูงการชะล้างพังทลายดินปานกลาง

 5-15 ตัน/ตร.กม./ปี

437.88

273,674.61

65.77

H4

ที่สูงการชะล้างพังทลายดินรุนแรง

 15-20 ตัน/ตร.กม./ปี

-

-

-

H5

ที่สูงการชะล้างพังทลายดินรุนแรงมาก

 >20 ตัน/ตร.กม./ปี

5.47

3,419.31

0.82

รวม

665.80

416,127.70

100.00

 

แผนที่การชะล้างพังทลายของดิน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง แม่สอง

 


คลิกเพื่อขยาย

 

ลักษณะทางธรณีวิทยา

          โครงการพัฒนาพื้นที่สูงตามแบบโครงการหลวงแม่สอง ส่วนใหญ่เป็นหินฟิลไลต์ ควอรตไซต์ หินดินดานเนื้อซิลิกา หินปูนเป็นเลนซ์ บางแห่งถูกแปรสภาพ ร้อยละ 20.13 รองลงมาเป็นหินแกรนิต แกรโนไดโอไรต์ ผลึกขนาดใหญ่และผลึกสองขนาด ร้อยละ 17.69 และหินทรายสีน้ำตาลแดง แสดงชั้นดี หินควอรตไซต์ หินดินดาน มีซากดึกดำบรรพ์ชนิดไทรโลไบต์ ร้อยละ15.49

 

แผนที่ลักษณะทางธรณีวิทยา โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง แม่สอง


คลิกเพื่อขยาย

 
หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน
เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักพัฒนา,สำนักยุทธศาสตร์และแผน


ทรัพยากรน้ำ

โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงแม่สอง มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ยังคงสภาพป่าที่สมบูรณ์ ควรสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร และ เป็นทรัพยากรป่าไม้ของประเทศ คิดเป็นร้อยละ 73.28 ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 304,933.89 ไร่ รองลงมาเป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 2 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1B ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 3 และชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 4 คิดเป็นร้อยละ 12.38 7.88 6.24 และ ร้อยละ 0.22  ของพื้นที่ทั้งหมด ตามลำดับ มีพื้นที่อยู่ลุ่มน้ำหลักลุ่มน้ำสาละวิน ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยวมตอนล่าง ร้อยละ 84.68 แบ่งเป็นลุ่มน้ำแม่สอง ร้อยละ 60.33 และลุ่มน้ำแม่เมย 1 ร้อยละ 24.36 ลุ่มน้ำสาขาน้ำแม่เงา ร้อยละ 15.32 และมีลำน้ำที่สำคัญในพื้นที่ได้แก่ น้ำแม่เมย น้ำแม่เงา และน้ำแม่สอง  


คลิกเพื่อขยาย

 


คลิกเพื่อขยาย

 

หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน

เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักยุทธศาสตร์และแผน


พื้นที่ป่า

โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงแม่สอง มีพื้นที่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ คิดเป็นร้อยละ 73.75 แบ่งเป็นป่าท่าสองยาง 304,623.13 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 73.20 ป่าอมก๋อย 2,264.42 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.54 และอยู่ในอุทยานแห่งชาติแม่เมย 102,753.41 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 24.69 (ดังตารางที่ 1) การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน C) คิดเป็นร้อยละ 93.41 พื้นที่เกษตรกรรม (โซน E) ร้อยละ 5.9  ดังตารางที่ 2

 

ตารางที่ 1 พื้นที่ป่าอนุรักษ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง แม่สอง

พื้นที่ป่าอนุรักษ์

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

ป่าสงวนแห่งชาติ

491.02

306,887.54

73.75

อุทยานแห่งชาติ

164.41

102,753.41

24.69

นอกเขตพื้นที่อนุรักษ์

10.38

6,486.81

1.56

รวม

665.80

416,127.70

100.00

 

ตารางที่ 2 การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง แม่สอง

การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ

พื้นที่

ร้อยละ

ตารางกิโลเมตร

ไร่

พื้นที่อนุรักษ์ (โซน C)

621.94

388,713.24

93.41

พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E)

37.20

23,253.05

5.59

นอกขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ

6.66

4,161.41

1.00

รวม

665.80

416,127.70

100.00

 


คลิกเพื่อขยาย

 


คลิกเพื่อขยาย

 

หากสนใจข้อมูลที่ดินรายแปลงติดต่อศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และแผน

เบอร์โทร : 053-328496-8 ต่อ 1212 หรือ https://gianalytics.hrdi.or.th/

ที่มา: สำนักยุทธศาสตร์และแผน


การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

         สนับสนุนการปลูกป่าชาวบ้าน ได้แก่ ไผ่ ไม้ใช้สอย และไม้ท้องถิ่น สนับสนุนการปลูกหญ้าแฝก สนับสนุนการฟื้นฟูป่าชุมชนและปลูกเสริม สนับสนุนให้มีการจัดทำฝาย จัดกิจกรรมรณรงค์ลดใช้สารเคมี สนับสนุนการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ และส่งเสริมการจัดทำแผนที่ดินรายแปลงและปรับระบบการใช้พื้นที่ให้เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน/หน่วยงาน 

กิจกรรมฟื้นฟูและพัฒนา

พ.ศ. 2555

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

หน่วยนับ

ผู้เข้าร่วม

หน่วยนับ

ผู้เข้าร่วม

หน่วยนับ

ผู้เข้าร่วม

1. งานอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยการปลูกหญ้าแฝก

5,000 กล้า

76ราย

50,000

105 ราย

50,000

84 ราย

2. งานฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน

    - การผลิตปุ๋ยหมัก

    - ปุ๋ยพืชสด

    - ปุ๋ยน้ำชีวภาพ

 

 

 

 

30 ตัน

 

 

30 ราย

-

-

 

40 ตัน

-

-

 

35 ราย

-

-

3. งานฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร

  3.1 ป่าชุมชน/ป่าต้นน้ำ

    - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม

    - พื้นที่ปลูกใหม่

 3.2 โครงการป่าชาวบ้าน

    - บำรุงรักษาพื้นที่เดิม

    - พื้นที่ปลูกใหม่

 

 

 

1 ครั้ง

 

 

860 ต้น

1 หมู่บ้าน

 

 

43 ราย

 

 

28 ราย

3 ครั้ง 120 ไร่

 

1 ครั้ง

 

 

3 ไร่

17 ไร่

2 หมู่บ้าน

 

52 ราย

 

 

7 ราย

12 ราย

1 ครั้ง 15 ไร่

 

1 ครั้ง

 

 

20 ไร่

25.7 ไร่

1 หมู่บ้าน

 

64

 

 

19  ราย

25 ราย

4. รณรงค์ทำแนวป้องกันไฟป่า

4 กิโลเมตร

63  ราย

21 กิโลเมตร

228 ราย

33 กิโลเมตร

88 ราย

5. กิจกรรมการรณรงค์เพื่อลดใช้สารเคมี

   เกษตรกร

 

 

1 ครั้ง

100 ราย

1 ครั้ง

165 ราย

6. สนับสนุนแหล่งน้ำขนาดเล็ก

 

 

1 แห่ง

1 หมู่บ้าน

1 แห่ง

1 หมู่บ้าน

7. การจัดทำฝาย

 

 

 

 

1 แห่ง

86 ฝาย

 

ข้อมูล ณ. พ.ศ. 2561